DSpace Repository

พฤติกรรมการปรับเปลี่ยนความเสี่ยงของกองทุนรวมในประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor รัฐชัย ศีลาเจริญ
dc.contributor.author นันทวัน ชฎาวัฒน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2020-12-08T07:00:44Z
dc.date.available 2020-12-08T07:00:44Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741437692
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71404
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายในการศึกษาความสัมพันธ์ของผลประกอบการกับการไหล ของเงินทุนสู่กองทุนรวมและพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนความเลี่ยงของผู้จัดการกองทุนรวม โดยใช้ ข้อมูลกองทุนเปิดประเภทตราสารทุนในประเทศไทยจำนวน 99 กองทุน ตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2543 ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2548 การประมาณการความสัมพันธ์ของผลประกอบการของกองทุนรวมกับการไหลของเงินทุน ในอนาคตด้วยวิธีการแบบภาคตัดขวาง พบความสัมพันธ์ที่เป็น “บวก” ระหว่างเงินทุนสุทธิที่ไหล เข้า-ออกกองทุนรวมกับผลประกอบการโดยเปรียบเทียบในอดีต ที่น่าสนใจก็คือการพบว่านักลงทุนมี แนวโน้มที่จะตอบสนองต่อผลประกอบการที่วัดโดยผลตอบแทนรวมแต่ไม่มีการตอบสนองต่อผล ประกอบการที่วัดโดยผลตอบแทนที่ปรับความเลี่ยงอย่าง Sharpe ratio สะท้อนว่านักลงทุนอาจจะ ละเลยความเสี่ยงของกองทุนรวม นอกจากนี้ ไม่พบผลการศึกษาว่านักลงทุนมีแนวโน้มให้การ ตอบสนองต่อผลประกอบการดีโดยเปรียบเทียบ “ในสัดส่วนที่สูงกว่า” ผลประกอบการไม่ดีโดย เปรียบเทียบดังเช่นการคึกษาของประเทศที่พัฒนาแล้ว การทดสอบความเป็นอิสระระหว่างผลประกอบการ ณ ตอนกลางปี กับพฤติกรรมการปรับเปลี่ยนความเลี่ยงโดยวิธี 2x2 Contingency Table พบว่ากองทุนรวมที่ถูกจัดเป็นผู้แพ้ ตอนกลางปีจะมีการปรับเพิ่มความเลี่ยงของกองทุนรวมในสัดส่วนที่มากกว่ากองทุนรวมที่เป็นผู้ชนะ ตอนกลางปี อย่างไรก็ตามไม่พบว่าอายุและขนาดของกองทุนรวมมีผลต่อพฤติกรรมการปรับเปลี่ยน ความเลี่ยงของกองทุนรวม
dc.description.abstractalternative This thesis investigates performance-flow relationship and risk-shifting behavior of Thai fund managers. The study employs data from 99 Thai open-end funds that classified as equity funds covering the period from January 2000 - December 2005. First, I perform cross sectional regression between the fund performances and future flows. I find positive relationship between net flow of money in and out of managed funds and the funds’ recent relative past performance. Interestingly, fund investors appear to react only to performance measured by total return, but are insensitive to performance measured by risk-adjusted return, like Sharpe ratio. This implies that risk is ignored by the investors. Furthermore, there is no evidence that investors response more to good performance than to bad performance. This is inconsistent with the evidence found in developed countries. Second, using 2x2 Contingency Table to test for independence between midyear performance and risk-shifting behavior, I find evidence that funds classified as mid-year losers tend to increase portfolio risk to a greater degree than do mid-year winners. However, the results do not indicate that age and size of fund are related to the risk-shifting behavior.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1253
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กองทุนรวม -- ไทย en_US
dc.subject ผู้ถือหุ้น en_US
dc.subject การประเมินความเสี่ยง en_US
dc.subject Mutual funds -- Thailand en_US
dc.subject Stockholders en_US
dc.subject Risk assessment en_US
dc.title พฤติกรรมการปรับเปลี่ยนความเสี่ยงของกองทุนรวมในประเทศไทย en_US
dc.title.alternative Risk shifting behavior of Thai multual funds en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การเงิน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Ruttachai.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2005.1253


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record