DSpace Repository

อิทธิพลของการฝึกที่เหมาะสมตามพัฒนาการ ที่มีต่อโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง ของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Show simple item record

dc.contributor.advisor นงลักษณ์ วิรัชชัย
dc.contributor.author ปรารถนา สุมาลย์กันต์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-12-09T08:04:02Z
dc.date.available 2020-12-09T08:04:02Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741438095
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/71462
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและเพื่อวิเคราะห์ ความสอดคล้องของโมเดลโค้ง พัฒนาการที่มีตัวแปรแฝงของ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวน การทางวิทยาศาสตร์ จากการใช้การฝึกที่เหมาะสมตามพัฒนาการกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และเพื่อ ศึกษาอิทธิพลของการฝึกที่เหมาะสมตามพัฒนาการ ที่มีต่อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทาง วิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4-5 ของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 140 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ การฝึกที่เหมาะสมตามพัฒนาการ แบบวัดความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ แบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การวบรวมข้อมูลเป็นการรวบรวมข้อมูลระยะยาว 3 ครั้ง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การ วิเคราะห์โมเดลลิสเรลแบบมีตัวแปรแฝง ผลการวิจัยพบว่าจากการประยุกต์ใช้โมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง 2 รูปแบบ (โมเดลพัฒนการเชิงเส้นโค้งที่มีตัวแปรแฝง ที่กำหนดพารามิเตอร์อิสระ และโมเดลพัฒนาการเชิง เส้นตรง) พบว่าโค้งพัฒนาการความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนมี ลักษณะเป็นเส้นโค้งพาราโบลาคว่ำ ในขณะที่ทักษะกระบวนกาทางวิทยาศาสตร์มีลักษณะเป็น เส้นตรง และโมเดลโค้งพัฒนาการดังกล่าวมีความสอดล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ การฝึกที่ เหมาะสมตามพัฒนาการมีอิทธิพลต่อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were to develop and test for the goodness of fit of the latent growth curve model of scientific knowledge, scientific attitude and scientific process skills as the result of the developmentally appropriate practices and to study the effects of the developmentally appropriate practices on scientific knowledge, scientific attitude and scientific process skills of the elementary school students. The research sample consisted of 140 Pratom Suksa 4 – 5students in schools under the jurisdiction of Bangkok Metropolis. The research instruments were mathematics developmentally appropriate practices, scientific knowledge test, scientific attitude test and scientific process skills. Longitudinal data were collected for three periods, and analyzed by using the analysis of LISREL model with latent variable. The major findings were as follows. The result from an application of two latent growth curve models (model with free parameter and linear growth curve model) indicated that the growth curve models of the scientific knowledge and scientific attitude were downward parabola while the curve of the scientific process skills was a linear curve. These latent growth curves were fit to the empirical data. The developmentally appropriate practices had statistically significant effect on scientific knowledge, scientific attitude and scientific process skills.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.205
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject พัฒนาการของเด็ก en_US
dc.subject ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ en_US
dc.subject ทัศนคติเชิงวิทยาศาสตร์ en_US
dc.subject กิจกรรมการเรียนการสอน en_US
dc.subject Child development en_US
dc.subject Science process skills en_US
dc.subject Scientific attitude en_US
dc.subject Activity programs in education en_US
dc.title อิทธิพลของการฝึกที่เหมาะสมตามพัฒนาการ ที่มีต่อโมเดลโค้งพัฒนาการที่มีตัวแปรแฝง ของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ en_US
dc.title.alternative Effects of developmentally appropriate practices on latent growth curve model of scientific knowledge, scientific attitude and scientific process skills en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิจัยการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Nonglak.W@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2005.205


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record