DSpace Repository

การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
dc.contributor.advisor ชัยยงค์ พรหมวงศ์
dc.contributor.advisor กาญจนา เงารังษี
dc.contributor.author สุภาณี เส็งศรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-02-09T12:42:03Z
dc.date.available 2021-02-09T12:42:03Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.isbn 9741307799
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72195
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 en_US
dc.description.abstract การวิจัยนิมิวัตถุประสงค์เฉพาะคือ (1) เพื่อศึกษาสภาพการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา (2) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา (3) เพื่อพัฒนาและทดลองใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา และ (4) เพื่อนำเสนอระบบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา จำนวน 62 คน ผู้เชี่ยวชาญด้านการเรียนการสอนทางเรียนการสอนทางไกลจำนวน 27 คน และนิสิตชันปีที่ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวรวิทยาเขตสารสนเทศพะเยา จำนวน 34 คน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. ข้อมูลจากการสังเกต สอบถาม และสัมภาษณ์ พบว่า มีสถาบันอุดมศึกษาระบบปิด 12 แห่งที่จัดการเรียนการสอนทางไกลจำแนกเป็นสาขาสังคมศาสตร์ 6 แห่ง และสาขวิทยาศาสตร์ 6 แห่ง ; เทคโนโลยีการเรียนการสอนที่ใช้เป็นสื่อหลักคือ ระบบการประชุมทางไกลโดยวีดิทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ และเครือข่ายคอมพิวเตอร์; ปัญหาที่พบมากคือ ผู้เกี่ยวข้องไม่คุ้นเคยกับรูปแบบการเรียนการสอนทางไกล ผู้เรียนและผู้สอนมิพฤติกรรมเหมือนการเรียนการสอนปกติ 2. องค์ประกอบหลักของการเรียนการสอนทางไกลมี 8องค์ประกอบ คือ (1) หลักสูตร (2) ระบบการจัดการ (3) ผู้เรียน (4) ผู้สอน (5) กิจกรรม (6) สภาพแวดล้อม (7) เทคโนโลยีการเรียนการสอน และ (8) ปัจจัยเกื้อหนุน 3. ผลการทดลองใช้ระบบการเรียนการลอนทางไกลที่พัฒนา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กลุ่มตัวอย่างเห็นว่า แผนการเรียน เอกสารคำสอน และกรอบแนวคิดช่วยให้ศึกษาอย่างมีเป้าหมายและทำให้มิวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผู้สอนพึงพอใจในกิจกรรมแบบมิส่วนร่วมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน และระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน 4. ระบบการเรียนสอนทางไกลที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วยระบบหลัก คือ ระบบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา “แผนมน. 2544” มีองค์ประกอง 8 ขั้นตอนหลัก คือ (1) หลักสูตร (2) ระบบการจัดการ (3) ผู้เรียน (4) ผู้สอน (5) กิจกรรม (6) สภาพแวดล้อม (7) เทคโนโลยีการเรียนสอน (8) ปัจจัยเกื้อหนุน และมีขั้นตอนพัฒนา 8 ขั้นตอนหลัก คือ (1) กำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย (2) วิเคราะห์เนื้อหาสาระ (3) วางแผน (4) เตรียมการ (5) ผลิตชูดสื่อ (6) ถ่ายทอด (7) ประเมินผล (8) ประกันคุณภาพ และมีระบบย่อย 3 ระบบ ได้แก่ ระบบการสอน ระบบการเรียนและระบบกิจกรรม ระบบการสอนมี 11 ขั้นตอน คือ (1) รับรายชื่อผู้เรียน (2) ส่งเอกสารแนะนำตัว (3) รับเอกสารแนะนำตัวผู้เรียน (4) ประชุมวางแผน (5) ปฐมนิเทศรายวิชา (6) ส่งกรอบแนวคิดให้ผู้เรียน (7) พบชั้นเรียนตามนัดหมาย (8) ตรวจงาน (9) ให้ข้อมูลย้อนกลับ (10) บันทึกผลงานเรียน และ (11) ดำเนินการสอบและตัดสินผลการเรียน ระบบการเรียนมี 11 ขั้นตอนคือ (1) ลงทะเบียน (2) รับเอกสารแนะนำตัว (3) กรอกและส่งเอกสารแนะนำตัว (4) รับการปฐมนิเทศรายวิชา (5) รับกรอบแนวคิดการเรียน (6) ศึกษากรอบแนวคิดด้วยตนเอง (7) พบชั้นเรียนทางไกลตามนัดหมาย (8) ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย (9) ได้รับข้อมูลย้อนกลับ (10) บันทึกผลงานในแฟ้มสะสมผลงานและ (11) สอบปลายภาคและรับทราบผลการเรียนและระบบกิจกรรม ประกอบด้วย 9 ขั้นตอน คือ (1) นำเสนอแผ่นนำรายการ (2) สร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้ช่วยสอน (3) ตกลงกติกาการเรียน (4) ทดสอบก่อนเรียน (5) ดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอน (6) ทดสอบหลังเรียน (7) ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน (8) เปรียบเทียบผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และ (9) ซักถามปัญหา en_US
dc.description.abstractalternative The specific purposes of this research were (1) to study current status of distance instruction เท higher education Institutions, (2) to study distance instructional components เท higher education institutions, (3) to develop and try out a distance instructional system, and (4) to propose a distance instructional system in higher education institutions. The sample comprised of 62 administrators of higher education institutions, 27 specialists and instructors in distance instruction, and 34 first year distant students of Naresuan University (Phayao Campus). The research finding were as follows: 1. Data upon observation, investigation and interview indicated that twelve higher education institutions (enrolled students) have been offered distance instruction, six institutions in Social sciences and six institutions in Sciences; main instructional technology for distance instructional delivery included printed materials, video conference systems and internet; current problems mostly found were personnel and students involved in distance instruction were unfamiliar with a system and both students and instructors behaved in the same way as traditional classroom instruction. 2. The eight main components of a distance instructional system are : (1) curriculum (2) management system (3) student (4) instructor (5) activity (6) environment (7) instructional technology and (8) supporting factors. 3. The try out of a distance instructional system revealed that subjects, post-test scores were significantly higher than pretest scores at the .01 level. The subjects indicated that lesson plan, instructional materials and conceptual frameworks provided a goal-oriented study and self-study method. The instructors were satisfied with participatory activities and interactions between student-student and instructor-student. 4. The distance instructional systems consisted of one main system and three subsystems. The main system named the distance instructional system in higher education institutions “ MN PLAN 2001", with eight components (1) curriculum (2) management system (3) student (4) instructor (5) activity (6) environment (7) instructional technology and (8) supporting factors; with eight steps : (1) identification of philosophy, vision, mission, policy and goal (2) analysis of subject content (3) planning (4) preparation (5) media package production (6) delivery (7) evaluation and (8) quality assurance. Three subsystems are: an instructional system, a learning system and an activity system. An instructional system consisted of eleven steps : (1) collect registered enrollment (2) send self-introduction material (3) receive returned self-introduction material (4) set up meeting (5) provide course orientation (6) send conceptual frameworks (7) attend class according to schedule (8) examine assignment (9) provide feedback (10) record assignments and (11) test and grading. A learning system consisted of eleven steps : (1) register (2) receive self-introduction material (3) fill and send self-introduction material (4) attend orientation (5) receive conceptual frameworks (6) study conceptual frameworks (7) attend class according to schedule (8) send assignments (9) receive feedback (10) record assignments in portfolio and (11) test and receive grade. An activity system consisted of nine steps : (1) present caption (2) make a relation between students, instructors and assistants (3) commit learning rules (4) provide pretest (5) implement activities (6) provide post-test (7) examine post-test (8) compare pretest and post-test scores and (9) ask questions. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การศึกษาทางไกล -- ไทย en_US
dc.subject การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- ไทย en_US
dc.title การพัฒนาระบบการเรียนการสอนทางไกลในสถาบันอุดมศึกษา en_US
dc.title.alternative The development of a distance instructional system in higher education institutions en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาเอก en_US
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record