DSpace Repository

Synthesis of Beta zeolite for isomerization of Hexane

Show simple item record

dc.contributor.advisor Suphot Phatanasri
dc.contributor.advisor Piyasan Praserthdam
dc.contributor.author Sipira Kularbkeaw
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2021-02-15T07:15:41Z
dc.date.available 2021-02-15T07:15:41Z
dc.date.issued 1997
dc.identifier.isbn 9746391089
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72288
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 1997 en_US
dc.description.abstract Isomerization of n-hexane on zeolite Beta was studied. Zeolite Beta was synthesized from appropriate gels and crystallized under the controlled temperature and pressure contitions. Zeolite Beta can be synthesized within a wide range of silica-to-alumina ratio (30-80). Techniques including XRD, XRF, BET, SEM AND NH3-TPD have been used for the characterization of zeolite Beta. Platinum ion-exchanged Beta zeolite exhibited high activity and selectivity for 2,2-Dimethylbutane (2,2-DMB), 2,3-Dimethylbutane (2,3-DMB), 2-Methylpentane (2-MP) and 3-Methylpentane (3-MP). As high as 72% of n-hexane conversion and 98% of product selectivity were obtained at 250°C, 1600 h⁻¹ for 20 min on stream. The influences of various reaction parameters such as reaction temperature, space velocity, amount of platinum leading, and stability of the catalyst were also studied. Pt/H-Beta zeolite was recommended as one of the promising catalyst for n-hezane isomerization due to its high activity and stability. The combined effect of the higher amount of strong acid site possessed by H-Beta and the dehydrogenation role played by Pt was believed to be responsible for the good catalytic performance of Pt/H-Beta. en_US
dc.description.abstractalternative ปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของนอร์มัลเฮกเซน ได้ศึกษาโดยใช้ซีโอไลต์บีตาเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยซีโอไลต์บีตานั้นสามารถสังเคราะห์ได้จากการเตรียมเจลที่เหมาะสมและตกผลึกในสภาวะที่ควบคุมอุณหภูมิและความดันและสามารถสังเคราะห์ได้ในหลายสัดส่วนของซิลิกาต่ออลูมินา (30-80) ซีโอไลต์บีตาที่เตรียมถูกวิเคราะห์ด้วยเทคนิค XRD, XRF, BET, SEM NH₃-TPD จากปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของนอร์มัลเฮกเซนพบว่าบนตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์บีตาที่มีการแลกเปลี่ยนไอออนด้วยแพลทินัมช่วยส่งเสริมความว่องไวและค่าการเลือกเกิดที่สูงต่อปฏิกิริยานี้ ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่ต้องการคือ 2,2-ไดเมททิลบิวเทน, 2,3-ไดเมททิลบิวเทน, 2-เมททิลเพนเทน, 3-เมททิล เพนเทน พบว่าเมื่อทำปฏิกิริยาที่ 250 องศาเซลเซียส ความเร็วเชิงสเปซ 1600 ต่อชั่วโมงเป็นเวลา 20 นาทีสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นสูงถึง 72 เปอร์เซ็นต์ และได้ผลิตภัณฑ์ที่ต้องการสูงถึง 98 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ยังได้มีการศึกษาถึงอิทธิพลของตัวแปรต่าง ๆ ในการทำปฏิกิริยา เช่น อุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา ความเร็วเชิงสเปซ ปริมาณแพลทินัม และความเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์บีตาที่มีการแลกเปลี่ยนไอออนด้วยแพลทินัมจัดเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่สำคัญต่อการใช้ในปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของนอร์มัลเฮกเซนเนื่องจากให้ค่าความว่องไว และค่าการเลือกเกิดต่อผลิตภัณฑ์ที่ต้องการสูง คาดว่าผลของการที่ตัวเร่งปฏิกิริยาบีตาในรูปไฮโดรเจนฟอร์มมีความเป็นกรดสูงรวมกับผลของแพลทินัมต่อการเกิดดีไฮโดรจิเนชันเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้ตัวเร่งปฏิกิริยาดังกล่าวมีประสิทธิภาพที่ดีสำหรับปฏิกิริยาไอโซเมอไรเซชันของเฮกเซน en_US
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Isomerization
dc.subject Zeolite catalysts
dc.subject ไอโซเมอไรเซชัน
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์
dc.title Synthesis of Beta zeolite for isomerization of Hexane en_US
dc.title.alternative การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์แบบบีตาสำหรับไอโซเมอไรเซชันของเฮกเซน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Engineering en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Chemical Engineering en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Suphot.P@Chula.ac.th
dc.email.advisor Piyasan.P@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record