DSpace Repository

การคาดคะเนความสูญหายของการศึกษาในวัฏจักรการศึกษา 2512-2523

Show simple item record

dc.contributor.advisor ประชุมสุข อาชวอำรุง
dc.contributor.author อำรุง จันทวานิช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-03-01T01:29:16Z
dc.date.available 2021-03-01T01:29:16Z
dc.date.issued 2513
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72445
dc.description วิทยานิพนธ์ (ค.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2513 en_US
dc.description.abstract สถิติการศึกษาของประเทศไทยในอดีตแสดงว่ามีนักเรียนจำนวนมากต้องออกจากระบบการศึกษาไปกลางคันอันก่อให้เกิดความสูญหายของการศึกษาและเป็นผลให้การศึกษาของประชากรส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ำผู้วิจัยได้ทำการศึกษามหภาคเพื่อคาดคะเนปริมาณความสูญหายของการศึกษาที่จะเกิดขึ้นในวัฏจักรการศึกษา 2512 ถึง 2523 โดยมีข้อสมมติว่าสภาพการศึกษาของประเทศไทยในช่วงระยะเวลาดังกล่าวไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีต การคาดคะเนความสูญหายของการศึกษาใช้ประชากรนักเรียนที่ควรจะเรียนในชั้นประถมปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในวัฏจักรการศึกษานี้ที่ได้จากการพยากรณ์มาปรับการกระจายด้วยโค้งปกติเพื่อหาขนาดพอดีของระบบการศึกษาแล้วเปรียบเทียบขนาดพอดีของระบบการศึกษาที่ได้กับจำนวนนักเรียนที่จะเรียนจริงในแต่ละปีของวัฏจักรการศึกษาดังกล่าว ผลของการคาดคะเนปรากฎว่าในวัฏจักรการศึกษา 2512 ถึง 2523 ความสูญหายของการศึกษาของประชากรในประเทศไทยมีจำนวนเทียบเป็นผู้จบมัธยมศึกษาถึง 21.6 ล้านคนหรือประมาณร้อยละ 4.2 ของประชากรทั้งหมดในวัฏจักรการศึกษานั้นและลักษณะการเกิดความสูญหายของการศึกษามีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้นทุกปีสรุปได้ว่าระบบการศึกษาของประเทศไทยเท่าที่เป็นอยู่ไม่ได้พัฒนาการศึกษาประชากรของประเทศให้มีความงอกงามทางการศึกษาเต็มตามความสามารถและสติปัญญาของแต่ละคน
dc.description.abstractalternative The educational statistics of Thailand in the recent past, showed a very high drop out rate, which resulted in a low average educational level of the population. A macro study was thus designed to estimate the educational loss during the year 1969 through 1980, if the Thai educational conditions of the near future would stay unchanged. The projected school populations of the years were distributed normally in order to determine the optimum size of the educational system. Then the optimum size of the system was compared with the projected school enrollment for each year. It was estimated that during the educational cycle 1969-1980, the educational loss of Thailand would amount to 21.6 millions secondary school graduates or 4.2% of the total population in the cycle with yearly upward trend. It was finally concluded that the Thai educational system does not provide full educational growth to the population as a whole
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.1970.2
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject นโยบายการศึกษา -- ไทย
dc.subject การศึกษาขั้นประถม -- นโยบายของรัฐ -- ไทย
dc.subject การศึกษาขั้นมัธยม -- นโยบายของรัฐ -- ไทย
dc.subject Education and states -- Thailand
dc.subject Education, Elementary -- Government policy -- Thailand
dc.subject Education, Secondary -- Government policy -- Thailand
dc.title การคาดคะเนความสูญหายของการศึกษาในวัฏจักรการศึกษา 2512-2523 en_US
dc.title.alternative Estimation of educational loss during the educational cycle 1969-1980 en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ครุศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline วิจัยการศึกษา en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.1970.2


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record