DSpace Repository

การพัฒนามาตรวัดสมรรถนะด้านจิตสำนึกในการให้บริการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรรณระพี สุทธิวรรณ
dc.contributor.author ชนัตรา ร่อนพิบูลย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2021-03-01T07:40:26Z
dc.date.available 2021-03-01T07:40:26Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72483
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนามาตรวัดสมรรถนะของบุคคลในด้านจิตสำนึกในการให้บริการสำหรับใช้คัดเลือกบุคลากร กลุ่มตัวอย่างสำหรับขั้นสร้างและพัฒนามาตรวัด คือ นิสิตชั้นปีที่ 3 ขึ้นไปของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างที่รู้ความแตกต่างอย่างชัดเจน (Contrasted Group) คือ เจ้าหน้าที่มัคคุเทศก์จำนวน 20 คน และเจ้าหน้าที่สายเทคโนโลยีของธนาคารเอกชนแห่งหนึ่งจำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ มาตรวัดสมรรถนะด้านจิตสำนึกในการให้บริการซึ่งพัฒนาโดยผู้วิจัย วิธีการศึกษาคือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) และการวิเคราะห์โดยใช้กลุ่มที่รู้ความแตกต่างอย่างชัดเจน (Method of Contrasted Group) ผลการวิจัยพบว่า มาตรวัดสมรรถนะด้านจิตสำนึกในการให้บริการประกอบด้วย 8 องค์ประกอบ บรรยายด้วย 50 ข้อกระทง สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 54.36 ได้แก่ 1) ความใส่ใจในรายละเอียดและความต้องการของผู้รับบริการ บรรยายด้วย 4 ข้อกระทง 2) การแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในการให้บริการด้วยความมั่นคงทางอารมณ์และความอด ทนอดกลั้น บรรยายด้วย 8 ข้อกระทง 3) การใช้เทคโนโลยีต่างๆ เพื่อการบริการที่ดี บรรยายด้วย 8 ข้อกระทง 4) การป้องกันและแก้ไขความผิดพลาดในการบริการ บรรยายด้วย 8 ข้อกระทง 5) การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและทักษะในการเข้าสังคม บรรยายด้วย 8 ข้อกระทง 6) ความสนใจและการพัฒนาตนเองในด้านทักษะการให้บริการ บรรยายด้วย 4 ข้อกระทง 7) ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และชอบช่วยเหลือผู้อื่น บรรยายด้วย 5 ข้อกระทง และ 8) ความเป็นมิตรและมีน้ำใจต่อผู้อื่นบรรยายด้วย 5 ข้อกระทง en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research study was to develop the Service Orientation Competency Scale. The scale was developed through information obtained from 400 Chulalongkorn University undergraduate students and 40 employees from 2 business organizations: twenty participants were guides from four travel agencies and twenty participants were technological staff from a private bank. Participants responded to the proposed Service Orientation Competency Scale. The information obtained was analyzed using 1) Exploratory Factor Analysis and 2) Method of Contrasted Group. Findings demonstrated that the 50-item Service Orientation Competency Scale could be reduced to 8 factors which accounted for 54.36% of the total variance. These factors were 1) Customer Treatment (4 items), 2) Appropriate Manners to Service Delivery with Emotional Stability and Patience (8 items), 3) Service Technology (8 items), 4) Service Failure Prevention and Service Recovery (8 items), 5) Extraversion, Openness and Social Skill (8 items), 6) Self Improvement in Service Skill (4 items), 7) Altruism and Helpfulness (5 items), and 8) Agreeableness (5 items) en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject สมรรถนะ en_US
dc.subject จิตพิสัยบริการ en_US
dc.subject Performance en_US
dc.subject Service mind en_US
dc.title การพัฒนามาตรวัดสมรรถนะด้านจิตสำนึกในการให้บริการ en_US
dc.title.alternative Development of service orientation competency scale en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record