dc.contributor.advisor |
Suwabun Chirachanchai |
|
dc.contributor.advisor |
Rath Pichyangkura |
|
dc.contributor.advisor |
Martin, David C |
|
dc.contributor.author |
Dararat Mekkriengkrai |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-03-03T02:50:18Z |
|
dc.date.available |
2021-03-03T02:50:18Z |
|
dc.date.issued |
2000 |
|
dc.identifier.isbn |
9743341692 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72522 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000 |
en_US |
dc.description.abstract |
Chitinase was prepared from bacteria, Staphylococcus species strain TU005 (E), found in Thailand soil. The activity was 18 mU/mg as determined by colorimetric assay at 37℃. Oligochitosan obtained from enzymatic degradation was found to be one-third of the starting chitosan as clarified by intrinsic viscosity. N-Phthaloylation at C-2 position was conducted to protect amino group. The compound showed the characteristic peaks of phthalimido group at 1714 and 1775 cm-1 by FT-IR. The product became well dissolved in DMF, DMSO, and pyridine. The precursor, O-tosylation of oligochitosan, was successfully prepared at room temperature under homogeneous system as confirmed from the tosyl peak at 817, 1599, and 1173 cm-1. The conjugation of long chain alkyl onto the precursors was prepared to obtain O-Lauryl-N-Phthaloyloligochitosan as evidenced from the significant peak at 2926 cm-1. The XRD patterns of these oligochitosan derivatives implied that the reaction decreased the crystallinity of the starting oligochitosan. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ไคดิเนสถูกเตรียมจากแบคทีเรีย Staphylococcus species strain TU005 (E ) ซึ่งพบในดินในประเทศไทย จากการตรวจวัดโดยวิธีคอลอริเมตริกที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสพบว่ามีค่า แอคติวิตี้ 18 m U/m g โอลิโกไคโตแซนที่ได้จากการย่อยด้วยไคติเนสถูกพบว่ามีความหนืดเป็น 1 ใน 3 เท่าของไคโตแซนตั้งต้นจากการวัดค่าอินทรินสิกวิสคอสิตี้ ปฏิกิริยาพาทาโลอิลเลชั่น (N -P hthaloylation) ที่ตำแหน่งคาร์บอนตัวที่ 2 ได้นำมาใช้เพื่อปกป้องหมู่อะมิโนให้คงอยู่และพบว่าปฏิกิริยานี้ทำสำเร็จจากการตรวจสอบกลุ่มพาทาลิมิโด (phthalimido group) ที่ 1714 และ 1775 เลขคลื่นด้วย FT -IR . อนุพันธ์ที่ได้แสดงการละลายได้ดีในไดเมทิลฟอร์มามายด์ ไดเมทิลซัลฟอกไซ ด และ ไพริดีน ปฏิกิริยาโทซิลเลชั่น ของโอลิโกไคโตแซน (O-Tosylation of oligochitosan) ทำได้สำเร็จที่อุณหภูมิห้องกายใต้ระบบสารละลายโดยตรวจสอบจากกลุ่มโทซิล (tosyl group) ที่ 817, 1599 และ 1173 เลขคลื่น การศึกษาการผนวกโมเลกุลของอัลคิลที่มีสายโซ่ยาวทำโดยการเตรียมลิริลพาทาโลอิลโอลิโกไคโตแซน (O-Lauryl-N -P hthaloyloligochitosan) ซึ่งพบหมู่เมธิลีน ได้อย่างชัดเจนที่ 2926 เลขคลื่น ผลการวิเคราะห์ด้วย XRD ของอนุพันธ์โอลิโกไคโตแซนเหล่านี้แสดงว่าปฏิกิริยาการปรับแต่งอนุพันธ์โอลิไคโตแซนทำให้การจัดเรียงตัวเป็นผลึกของโอลิโกไคโตแซนตั้งต้นลดลง |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Chitin |
en_US |
dc.subject |
Chitosan |
en_US |
dc.subject |
Chitinase |
en_US |
dc.title |
Approach for oilgochitosan via chitinase system and the chemical modification |
en_US |
dc.title.alternative |
การพัฒนาโครงสร้างไคตินให้เป็นโอลิโกเมอร์ ด้วยกระบวนการย่อยด้วยเอนไซม์และการปรับโครงสร้างทางเคมี |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Suwabun.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Rath.P@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|