dc.contributor.advisor |
Jamieson, Alexander M |
|
dc.contributor.advisor |
Rathanawan Magaraphan |
|
dc.contributor.author |
Rewadee Skularriya |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-03-04T08:24:33Z |
|
dc.date.available |
2021-03-04T08:24:33Z |
|
dc.date.issued |
2000 |
|
dc.identifier.isbn |
9743341935 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72600 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000 |
en_US |
dc.description.abstract |
Blends of linear low density polyethylene (LLDPE) and natural rubber (NR) blend is quite immiscible. Maleic anhydride (MA), added to the blend in the presence of dicumyl peroxide (DCP), acts as a reactive compatibilizer, since it improves the blend properties by producing a graft copolymer. A variety of reaction products can occur, depending on the processing conditions and the blend composition. The blends were prepared at different processing conditions and characterized each separated phase by Fourier transform infrared spectroscopy, and thermogravimetric analysis to gain insight into the in situ compatibilization. The blends were investigated for tensile properties and gel content. It was found that the most suitable process condition occurs at 150℃ and, for LLDPE/NR compositions 90/10 and 50/50, at rotor speeds of 50 and 30 rpm, respectively. The gel content increased with increasing amount of DCP. The percentage of grafted copolymer containing MA increased as the amount of MA content increased. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
การผสมของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นตํ่าเชิงเส้นกับยางธรรมชาติเป็นสารที่ไม่สามารถเข้ากันได้ ดังนั้นการใช้สารช่วยผสมเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถลดปัญหานี้ได้ มาเลอิกแอนไฮดรายด์และไดคูมิวเปอร์ออกไซด์เป็นสารช่วยผสมและตัวริเริ่มปฏิกิริยาที่ถูกใช้อย่างแพร่หลาย เนื่องจากมาเลอิกเอนไอดรายด์เป็นสารช่วยผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาตอบโต้ภายในเครื่องผสมได้ ดังนั้นอาจเกิดผลิตภัณฑ์จากการเกิดปฏิกิริยาขึ้นหลายชนิด ซึ่งผลิตภัณฑ์เหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อสมบัติ1ของพอลิเมอร์ผสม การเกิดผลิตภัณฑ์แบบใดขึ้นกับหลายปัจจัย ได้แก่ สภาวะที่ใช้ในการผสม และ ส่วนประกอบของพอลิเมอร์ผสม ในงานวิจัยนี้ ได้เตรียมพอลิเมอร์ผสมที่สภาวะการผลิตต่าง ๆ และวิเคราะห์ชนิดและปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นในแต่ละวัฏภาคโดยเทคนิคฟูเรียทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรสโกปี และการวิเคราะห์ทางความร้อนและนำหนักเพื่อให้เข้าใจการช่วยผสมที่เกิดขึ้นในขณะผสม จากการศึกษาพบว่าสภาวะการผสมที่เหมาะสมคือที่อุณหภูมิ 150 องสาเซลเซียสสำหรับส่วนประกอบ 90/10 และ50/50 และความเร็วในการผสมที่เหมาะสมคือ 50 และ 30 รอบต่อนาที สำหรับส่วนประกอบ 90/10 และ50/50 ตามลำดับ ปริมาณเจลเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณไดคูมิวเปอร์ออกไซด์ในระบบ ปริมาณพอลิเมอร์ร่วมแบบกิ่งของมาเลอิกแอนไฮดรายด์ในพอลิเมอร์ผสมเพิ่มขึ้น เมื่อเพิ่มปริมาณมาเลอิกแอนไฮดรายด์ในระบบ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Copolymers |
en_US |
dc.subject |
Rubber |
en_US |
dc.subject |
Maleic anhydride |
en_US |
dc.subject |
Polyethylene |
en_US |
dc.title |
Reactive blending of LLDPE/NR with maleic anhydride : characterization of graft copolymer |
en_US |
dc.title.alternative |
การผสมแบบมีปฏิกิริยาของพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่ำเชิงเส้นกับยางธรรมชาติ โดยใช้มาเลอิกแอนไฮดรายด์เป็นสารช่วยผสม : การวิเคราะห์พอลิเมอร์ร่วมแบบกิ่ง |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.email.advisor |
Rathanawan.K@Chula.ac.th |
|