DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านหนังสือการ์ตูนกับการใช้ภาษาและความคิดสร้างสรรค์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ดวงกมล ชาติประเสริฐ
dc.contributor.author เกศกนก ชุ่มประดิษฐ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-03-05T03:02:09Z
dc.date.available 2021-03-05T03:02:09Z
dc.date.issued 2540
dc.identifier.isbn 9746382691
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72620
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 en_US
dc.description.abstract งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านหนังสือการ์ตูนกับการใช้ภาษา และความคิด สร้างสรรค์ โดยนำผลคะแนนจากการทดสอบทักษะการเขียน, การใช้ภาษาอย่างเป็นเหตุเป็นผล และความคิดสร้างสรรค์ มาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากกับน้อย กลุ่มละ 40 คน นอกจากนี้ยังมีการเปรียบเทียบภายในกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมาก โดยแบ่งเป็นกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากและอ่านติดต่อกันเป็นประจำ กับกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากแต่อ่านไม่ติดต่อกันเป็นประจำ ผลการวิจัยมีดังนี้ : 1. กลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากและน้อยมีทักษะการเขียนไม่แตกต่างกัน แต่มีรูปแบบการใช้ภาษา อย่างเป็นเหตุเป็นผล แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.1 2. กลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากและน้อยมีความคิดสร้างสรรค์ แตกต่างกัน 3. กลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมากและอ่านติดต่อกันเป็นประจำกับกลุ่มผู้อ่านหนังสือการ์ตูนปริมาณมาก แต่อ่านไม่ติดต่อกันเป็นประจำ ไม่มีความแตกต่างกันในทุกด้าน
dc.description.abstractalternative This research studies whether there is any relationship between heavy and light comic reader’ use of language and their creativity. It compares the composition score, language logical test score and creativity test score of 40 heavy and 40 light comic readers. Heavy readers are divided further into consistent readers and non-consistent readers. Results are as follows: 1. Heavy and light readers did not differ significantly in their composition skills but differ at the significant level of 0.1 in their logical scores. 2. Heavy and light readers differ significantly in their creativity scores. 3. Consistent and non-consistent heavy readers did not differ in any way.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.1997.273
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject กรอบแนวคิดทางจิตวิทยา en_US
dc.subject ความคิดสร้างสรรค์ en_US
dc.subject การเขียน en_US
dc.subject การอ่าน en_US
dc.subject การ์ตูน en_US
dc.subject Schemas (Psychology) en_US
dc.subject Creative thinking en_US
dc.subject Writing en_US
dc.subject Reading en_US
dc.subject Caricatures and cartoons en_US
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านหนังสือการ์ตูนกับการใช้ภาษาและความคิดสร้างสรรค์ en_US
dc.title.alternative The relationship between comic reading and the use of language and creativity en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การหนังสือพิมพ์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Duangkamol.C@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.1997.273


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record