DSpace Repository

การเปรียบเทียบแรงจูงใจและคุณลักษณะในการเลือกคู่ ระหว่างผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ

Show simple item record

dc.contributor.advisor คัคนางค์ มณีศรี
dc.contributor.author ภาสกร รัตนปนัดดา
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
dc.date.accessioned 2021-03-11T03:37:14Z
dc.date.available 2021-03-11T03:37:14Z
dc.date.issued 2544
dc.identifier.isbn 9740316301
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72772
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบลักษณะบุคลิกภาพของบุคคลที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงกับบุคคลที่มีการกำกับการแสดงออกของตนตํ่า ต่อแรงจูงใจในการ เลือกคู่รักและการเลือกคุณลักษณะของคู่รัก กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีคู่รัก จำนวน 400 คน และบุคคลที่ทำงานซึ่งมีการศึกษาระดับปริญญาตรีขึ้นไป และมีคู่รักและมีอายุระหว่าง 23-27 ปี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ มาตรวัดการกำกับการแสดงออกของตน มาตรวัดแรงจูงใจในการเลือกคู่รัก และมาตรวัดการเลือกคุณลักษณะของคู่รัก ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงมีแรงจูงใจในการเลือกคู่รักที่คำนึงถึงผลตอบแทนจากความสัมพันธ์ มากกว่าผู้ที่มีการกำกับการแสดงออก'ของตนตํ่า (p < .001) 2. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนตํ่ามีแรงจูงใจในการเลือกคู่รักที่คำนึงถึงคุณค่าของความสัมพันธ์ มากกว่าผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูง (p < .01) 3. ผู้ที่มีการกำกับการแสดงของตนสูงและผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนตํ่า เลือกคุณลักษณะของคู่รักแตกต่างกันในบางด้าน (มีสุขภาพดี มีอารมณ์ขัน รูปร่างหน้าตาดี ฐานะทางบ้านดี สถานภาพทางสังคมดี มีความเชื่อและค่านิยมคล้ายคลึงกัน มีประสบการณ์ทางเพศซื่อสัตย์และไว้ใจได้ และระดับการศึกษาทัดเทียมกัน) และไม่แตกต่างกันในบางด้าน (มีความ รับผิดชอบ มีสติปัญญาดี มีพ่อแม่ที่ดี มีความเมตตาและคำนึงถึงผู้อื่น บุคลิกภาพน่าตื่นเต้นและมีความดึงดูดใจทางเพศ) 4. นิสิตนักศึกษาและบุคคลที่ทำงาน ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนประเภทเดียวกันมีแรงจูงใจในการเลือกคู่รักและการเลือกคุณลักษณะของคู่รักไม่แตกต่างกัน en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to com pare dating motivation and preferences for their dating partners’s characteristics between high and low self-monitoring individuals. The sample consisted of 400 Chulalongkorn University students and 400 employed people who graduated with at least bachelor’s degree, w ere currently having dating partners, and aged 23-27. Instruments included self-monitoring scale, dating motivation scale, and preferences for characteristics of dating partners scale. Results show that: 1.High self-monitoring individuals have greater extrinsic motivation than low self-monitoring individuals (p < .001). 2. Low self-monitoring individuals have greater intrinsic motivation than high self-monitoring individuals (p < .01). 3. High and low self-monitoring individuals prefer different characteristics for some aspects (healthy, sense of humor, physically attractive, financial resources, social status, similar values, sexual experience, faithful and loyal, and educational level) and no differences are found for some aspects (responsible, intelligent, good parent, kind and considerate, exciting personality, and sex appeal). 4. There are no differences on dating motivation and characteristic preferences between university students and employed people with similar types of self-monitoring. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การเลือกคู่ครอง en_US
dc.subject การแสดงออก (จิตวิทยา) en_US
dc.title การเปรียบเทียบแรงจูงใจและคุณลักษณะในการเลือกคู่ ระหว่างผู้ที่มีการกำกับการแสดงออกของตนสูงและต่ำ en_US
dc.title.alternative A comparison of dating motivation and characteristic preferences between high and low self-monitoring individuals en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline จิตวิทยาสังคม en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Kakanang.M@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record