dc.contributor.advisor |
ธีวินท์ สุพุทธิกุล |
|
dc.contributor.author |
กิตติพศ พุทธิวนิช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-03-31T07:04:31Z |
|
dc.date.available |
2021-03-31T07:04:31Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73014 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 |
en_US |
dc.description.abstract |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เสนอว่า เหตุผลสำคัญที่ทำให้สมัชชา 18 ต้องทำการปฏิรูปกระบวนการนโยบายต่างประเทศของจีนที่เเต่เดิมเป็นเเบบกระจายตัวให้มีการรวมศูนย์เข้าสู่ส่วนกลางมากขึ้น คือ เเบบแผนใหม่ทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนโยบายหันกลับสู่เอเชียของสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ การปฏิรูปกระบวนการนโยบายต่างประเทศของสมัชชา 18 เป็นการปฏิรูปอย่างรอบด้าน ทั้งในระดับรัฐบาลกลาง รัฐบางท้องถิ่น และกองทัพ โดยในระดับรัฐบาลกลาง ความเปลี่ยนเเปลงสำคัญคือการเปลี่ยนเเปลงบทบาทของกลุ่มผู้นำย่อย การประกาศใช้เเผนยุทธศาสตร์เเห่งชาติด้านการต่างประเทศ เเละการสร้างกรอบความร่วมมือใหม่ทับลงไปในกรอบความร่วมมือเดิม ในระดับรัฐบาลท้องถิ่น ความเปลี่ยนเเปลงสำคัญคือ การใช้มาตรการทางการคลัง การใช้ระบบการเเบ่งหน้าที่ตามพื้นที่ เเละการเปลี่ยนเเปลงหน้าที่ของสำนักการต่างประเทศส่วนท้องถิ่น เเละในระดับกองทัพ ความเปลี่ยนเเปลงสำคัญคือ การปฏิรูปกองทัพให้คณะกรรมาธิการทหารส่วนกลางมีอำนาจที่เเท้จริงในการบัญชาการกองทัพ เเละการใช้เเนวคิดยุทธศาสตร์สามสงครามเพื่อบูรณาการฝ่ายพลเรือนเเละฝ่ายทหาร ทั้งหมดนี้ ทำให้กระบวนการนโยบายต่างประเทศของจีนมีความเป็นเอกภาพมากขึ้น เพื่อที่สมัชชา 18 จะสามารถจัดการกับปัญหาทั้งสามข้อข้างต้นได้อย่างรอบด้าน |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
This thesis argues that the main reasons why the 18th CCP Congress decided to reform its foreign policy process are the new normal economy, the technological advance, and the U.S. Pivot to Asia. The foreign policy process reform under the 18th CCP Congress inclusively took place at the central, local and military levels. At the central level, the reform included the functional changes of the Small Leading Groups, the declaration of the national grand strategy for foreign policy, and the creation of new international cooperation frameworks overshadowing the old ones. At the local level, the fiscal measure and the Functional Zoning System have been used to increase the local governments' dependency toward the central government. Moreover, the functions of the Local Foreign Affairs Offices have been changed. At the military sector, the People's Liberation Army has been reformed in order to allow the Chairman of the Central Military Committee to exercise his full power, and the logic of "Three Warfare Strategies" has also been applied to advocate the civilian-military integration. All of these measure contribute to the increasing unity of China in conducting its foreign policy so that the 18th CCP Congress could manage those three problem more inclusively. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1068 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
นโยบายต่างประเทศ |
|
dc.subject |
จีน -- นโยบายต่างประเทศ |
|
dc.subject |
International relations |
|
dc.subject |
China -- International relations |
|
dc.title |
การปฏิรูปกระบวนการนโยบายต่างประเทศของจีนในสมัชชา 18 |
en_US |
dc.title.alternative |
The reform of China's foreign policy-making process under the 18th CCP congress |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
en_US |
dc.degree.discipline |
รัฐศาสตร์ |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Teewin.S@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2018.1068 |
|