dc.contributor.advisor |
Opass Putchareon |
|
dc.contributor.advisor |
Anchalee Avihingsanon |
|
dc.contributor.author |
Win Hlaing Than |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2021-03-31T09:59:09Z |
|
dc.date.available |
2021-03-31T09:59:09Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73058 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2018 |
en_US |
dc.description.abstract |
Background: Each respective prevalence of hypovitaminosis D and Chronic Kidney Diseases (CKD) is high among Thai HIV-infected adults. Therefore, we examined the factors, including hypovitaminosis D, associated with kidney function decline among chronically treated HIV-infected Thai adults. Methods: We analyzed participants, who were on suppressive combination antiretroviral therapy (ART) from the HIV-NAT long-term cohort, with estimated Glomerular filtration rate(eGFR) measured at least twice a year. Baseline were defined as when participants had a serum 25 (OH)D measured, with eGFR (>60 ml/min/1.73m2 by CKD-EPI equations). The primary outcome was kidney function assessment in terms of eGFR decline. Results: A total of 435 participants was observed through median follow-up of 30 (12 – 54) months. Median age was 44.4 (37.5-53.2) years old. Median serum 25(OH)D was 22.35 (17.5-28.4) ng/ml. Median baseline eGFR was 96.5(83.6-106.4) ml/min/1.73m2, and 50% and 29% of participants were vitamin D insufficient and deficient respectively. GEE model showed coefficients of study factors on eGFR decline as follows: Low vitamin D -0.03 (95%CI: -3.28, 3.23) p 0.988; Follow-up in months -0.07 (95%CI: -0.09, -0.04) p< 0.001; age in years -0.20 (95%CI: -0.40, -0.01) P 0.042; being female 1.83 (95%CI: -0.79, 4.45) p 0.172 ;BMI -0.05 (95%CI: -0.37, 0.26) p 0.750 ;baseline eGFR 0.77 (95%CI: 0.67, 0.87) p<0.001; baseline HIV-RNA (log 10 copies/ml) -1.87 (95%CI: -4.47, 0.74) p 0.161 ; diabetes mellitus -1.98 (95%CI: -5.72, 1.77) p 0.301 ; hypertension -1.51 (95%CI: -4.38, 1.36) p 0.302; gout -2.19 (95%CI: -11.93, 7.54) p 0.659; co-infection with HBV -6.23 (95%CI: -13.28, 0.82) p 0.083; co-infection with HCV 5.68 (95%CI: -1.27, 12.62) p 0.109; previous exposure of PIs 0.08 (95%CI: -0.25, 0.41) p 0.632;current use of EFV2.87 (95%CI: 1.03, 4.70) p 0.002. Conclusions: Among HIV-infected Thai adults, low vitamin D is not significantly associated with eGFR decline whereas age in years, follow-up duration in months, baseline eGFR, and current use of EFV were statistically significant. Further studies in larger populations with multi-ethnic groups are warranted. |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
ความเป็นมา: ทั้งภาวะวิตามินดีพร่องและโรคไตเรื้อรังมีความชุกสูงในผู้ใหญ่ไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี ดังนั้น เราจึงศึกษา ปัจจัย รวมถึงภาวะวิตามินดีพร่อง ที่สัมพันธ์กับการลดลงของการทำงานของไตในผู้ใหญ่ไทยที่ ติดเชื้อเอชไอวี วิธีการศึกษา: เราวิเคราะห์ผู้เข้าร่วมการศึกษาซึ่งได้รับยาต้านไวรัสสูตรผสมจากโครงการศึกษาระยะยาว HIV-NAT ด้วยการประมาณอัตราการกรองของไต (eGFR) ที่วัดอย่างน้อยสองครั้งต่อปี จุดตั้งต้นเริ่มจากผู้ป่วยที่ วัดระดับวิตามินดี ในเลือดและมีอัตราการกรองของไต (eGFR) (มากกว่า 60 มล./นาที/1.73ตารางเมตร ด้วยสมการ CKD-EPI) ผลลัพธ์เบื้องต้นที่ได้คือการวัดการทำงานของไตในเทอมของอัตราการกรองของไต (eGFR)ที่ลดลง ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมการศึกษาทั้งสิ้น 435 คนได้รับการที่ได้รับการเฝ้าสังเกตในระยะยาวผ่านการติดตามสังเกตการณ์ ในระยะเวลาที่ค่ามัธยฐานของเวลาเท่ากับ 30 เดือน (12 – 54 เดือน) ค่ามัธยฐานของอายุผู้เข้าร่วม การศึกษา คือ 44.4 ปี (37.5-53.2) ค่ามัธยฐานของระดับวิตามินดีในเลือด คือ 22.35 (17.5-28.4) ng/ml ค่ามัธยฐานของอัตราการกรองของไต คือ 96.5(83.6-106.4) มล./นาที/1.73ตารางเมตร ร้อยละ 50 และ 29 ของผู้เข้าร่วมการศึกษา มีภาวะพร่องวิตามินดีและภาวะขาดวิตามินดี ตามลำดับ โมเดล GEE แสดงค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่ศึกษาต่อการลดลงของอัตราการกรองของไต ดังนี้ ระดับวิตามินดีต่ำ -0.03 (95%CI: -3.28, 3.23) p 0.988 การติดตาม (เดือน) - 0.07 (95%CI: -0.09, -0.04) p< 0.001; อายุ (ปี) -0.20 (95%CI: -0.40, -0.01) p 0.042 เพศหญิง 1.83 (95%CI: -0.79, 4.45) p 0.172 ; ดัชนีมวลกาย -0.05 (95%CI: -0.37, 0.26) p 0.750 ; อัตราการกรองของไตที่ฐาน 0.77 (95%CI: 0.67, 0.87) p<0.001; HIV-RNA ที่ฐาน (log 10 copies/ml) -1.87 (95%CI: -4.47, 0.74) p0.161; เบาหวาน -1.98 (95%CI: -5.72, 1.77) p 0.301 ; ความดันโลหิตสูง -1.51 (95%CI: -4.38, 1.36) p 0.302; เกาต์ -2.19 (95%CI: -11.93, 7.54) p 0.659; การติดเชื้อ ตับอักเสบบีร่วมด้วย -6.23 (95%CI: -13.28, 0.82) p 0.083; การติดเชื้อตับอักเสบซีร่วมด้วย 5.68 (95%CI: -1.27, 12.62) p 0.109; การใช้ PIs มาก่อน 0.08 (95%CI: -0.25, 0.41) p 0.632; การใช้ EFV ในปัจจุบัน 2.87 (95%CI: 1.03, 4.70) p 0.002 สรุป: ในกลุ่มผู้ใหญ่ไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี วิตามินดีต่ำไม่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการลดลงของอัตราการกรองของไต แต่ อายุ (ปี) ระยะเวลาติดตาม (เดือน) อัตราการกรองของไตที่ฐาน เบาหวาน การใช้ EFV ในปัจจุบัน ผลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ต่อการลดล งของอัตราการกรองของไต การศึกษาต่อไปควรศึกษาในประชากรขนาดใหญ่ที่มีกลุ่มหลายเชื้อชาติ |
en_US |
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.148 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.title |
Low vitamin D and kidney function decline among HIV-infected adults in Thailand |
en_US |
dc.title.alternative |
ตามินดีที่ต่ำและการลดลงของการทำงานของไตในผู้ป่วยไทยที่ติดเชื้อเอชไอวี |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Clinical Sciences |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
opass.p@chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
anchalee.a@hivnat.org |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2018.148 |
|