DSpace Repository

การศึกษาเปรียบเทียบคำและสำนวนที่มี “KOU” และ“ZUI” ในภาษาจีนกลางกับ “ปาก” ในภาษาไทย

Show simple item record

dc.contributor.advisor สืบพงศ์ ช้างบุญชู
dc.contributor.author ชัญญภัค โตเจริญบดี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-05-14T03:01:54Z
dc.date.available 2021-05-14T03:01:54Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73365
dc.description วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561 en_US
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาเปรียบเทียบคำและสำนวนที่มี 口 “KOU” และ 嘴 “ZUI”ใน ภาษาจีนกลางกับ “ปาก” ในภาษาไทย เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความหมายว่าเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า ความหมายของคำและสำนวนที่มีคำว่า “ปาก” ทั้งในภาษาจีนและภาษาไทยสามารถจำแนกความหมายได้เป็น 2 กลุ่ม คือ ความหมายโดยตรง กับความหมายโดยนัย ส่วนการเปรียบเทียบสำนวนจีนและสำนวนไทยที่มีคำว่า “ปาก” ส่วนใหญ่มีความหมายเหมือนและใกล้เคียงกัน สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. เปรียบเทียบสำนวนจีนที่มีคำว่า 口 “KOU” หรือ 嘴 “ZUI” กับสำนวนไทยที่มี คำว่า “ปาก” 2. เปรียบเทียบสำนวนจีนที่มีคำว่า 口 “KOU” หรือ 嘴 “ZUI” กับสำนวนไทยไม่ได้ใช้คำว่า “ปาก” 3. เปรียบเทียบสำนวนไทยที่มี คำว่า ปาก กับสำนวนจีนไม่ได้ใช้คำว่า 口 “KOU” หรือ 嘴 “ZUI” อย่างไรก็ตาม สำนวนจีนและสำนวนไทยไม่ว่าภาษาใดหรือชาติใด สำนวนเหล่านี้เกิดจากความรู้สึกนึกคิดของมนุษย์ที่เกิดจากธรรมชาติ การกระทำ การดำเนินชีวิต ความประพฤติ หรือจารีตประเพณี ตลอดจนมโนทัศน์และค่านิยมต่างๆของทั้งสองประเทศที่มีความคล้ายคลึงกันและแตกต่างกันไปตามบริบทของสังคม en_US
dc.description.abstractalternative The purpose of this study is the comparison of the meanings between words and idiomatic expressions containing 口 "KOU" and 嘴 "ZUI" in both Mandarin Chinese and “/pá:k/” in Thai language. From the results of this study, it can be concluded that the meaning of words and expressions that have the word “/pá:k/” in both Chinese and Thai languages can be classified into two groups, 1. basic meaning and 2. connotative meaning. The comparison of Chinese idioms and Thai idioms with the word “/pá:k/” found that most of them have similar meanings. We can divide words into three groups as follows: 1.compare Chinese idioms with the words 口 "KOU" or 嘴 "ZUI" with Thai idioms to the word “/pá:k/” 2.compare Chinese idioms with the words 口 "KOU" or 嘴 "ZUI " to Thai idioms without the word “/pá:k/”. 3. compare Thai expressions with the word “/pá:k/”, to Chinese idioms that do not use the word 口 "KOU "or 嘴 "ZUI ". These expressions are caused by human’s natural feelings, actions, lifestyle, behavior or custom. As well as the concepts and values of both countries that are similar and different according to the social context. en_US
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.1044
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ
dc.subject ภาษาจีน -- การใช้ภาษา
dc.subject ภาษาไทย -- การใช้ภาษา
dc.subject Comparative linguistics
dc.subject Chinese language -- Usage
dc.subject Thai language -- Usage
dc.title การศึกษาเปรียบเทียบคำและสำนวนที่มี “KOU” และ“ZUI” ในภาษาจีนกลางกับ “ปาก” ในภาษาไทย en_US
dc.title.alternative A comparative study of words and idiomatic expressions containing “KOU” and “ZUI” in Mandarin Chinese and /pá:k/ in Thai en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name อักษรศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline ภาษาจีน en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Seubpong.C@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2018.1044


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record