dc.contributor.advisor |
สัมฤทธิ์ วัชรสินธุ์ |
|
dc.contributor.author |
พิชชาพร จำรัสบุญ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-21T04:52:02Z |
|
dc.date.available |
2021-05-21T04:52:02Z |
|
dc.date.issued |
2558 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/73469 |
|
dc.description |
โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558 |
en_US |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่จะพัฒนาการสังเคราะห์พอลิฟีนิลีนเอไทนิลีน (PPEs) จากการใช้แพลเลเดียมที่ ตรึงบนแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ์ ผ่านการทำปฏิกิริยาโซโนกาชิราคัปปลิง ซึ่ง สภาวะที่เหมาะสมในการเกิดปฏิกิริยาคือ ใช้ไดไอโซโพรพิลอะมีนเป็นเบส และไดเมทิลฟอร์มาร์ไมด์เป็นตัว ทำละลายภายใต้อุณหภูมิ 80 องศาเซลเซียส หลังจากตกตะกอนด้วยเมทานอล ให้ร้อยละผลได้ของ PPEs สูงถึง 99 เปอร์เซ็นต์ ข้อมูลทางเจลเพอมีเอชันโครมาโทกราฟีของ PPEs แสดงมวลโมเลกุลเฉลี่ยโดยน้ำหนัก สูง 24,185 ดัลตัน องศาการเกิดพอลิเมอร์สูงถึง 53 และดัชนีการกระจายน้ำหนักโมเลกุลของพอลิเมอร์มีค่า 2.7 ข้อมูลทาง Inductively coupled plasma optical emission spectrometer แสดงค่าการชะของ โลหะแพลเลเดียมใน PPEs มีค่า 0.3%w/w เมื่อเปรียบเทียบผลที่ได้กับวิธีการสังเคราะห์ PPEs โดยใช้ PdCl₂(PPh₃)₂ ซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ์ PPEs ที่สังเคราะห์ได้จากแพลเลเดียมที่ตรึงบนแคลเซียม คาร์บอเนตนั้นมีสมบัติที่ดีกว่าในด้านขององศาการเกิดพอลิเมอร์ การกระจายตัวของพอลิเมอร์ และค่าการชะของโลหะแพลเลเดียม |
en_US |
dc.description.abstractalternative |
Our research focus on the development of the synthesis of poly(p-phenyleneethynylene) s (PPEs) from palladium supported on calcium carbonate as heterogeneous catalyst via the Sonogashira coupling reaction. The optimum condition of this reaction is using a diisopropylamine as a base and dimethylformamide as a solvent at 80 °C. After precipitation with methanol, PPEs are successfully prepared in excellent yield (99%). The Gel Permeation Chromatography (GPC) data indicates that an average molecular weight (MW) is 24,185 while degree of polymerization (DP) and polydispersity index (PDI) are 53 and 2.7 respectively. Inductively coupled plasma optical emission spectrometer (ICP-OES) measurement reveals that leaching of palladium into PPEs are 0.3%w/w. When compare these data with the conventional homogeneous catalyst, PdCl₂(PPh₃)₂, it indicates that our PPEs show better properties in term of DP, PDI and leaching of palladium. |
en_US |
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
แพลเลเดียม |
en_US |
dc.subject |
แคลเซียมคาร์บอเนต |
en_US |
dc.subject |
พอลิฟีนิลีนเอไทนิลีน |
en_US |
dc.title |
การสังเคราะห์พอลิฟีนิลีนเอไทนิลีนโดยใช้แพลเลเดียมที่ตรึงบนแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาแบบวิวิธพันธุ์ |
en_US |
dc.title.alternative |
Synthesis of poly(p-phenyleneethynylene)s using palladium supported on calcium carbonate as heterogeneous catalyst |
en_US |
dc.type |
Senior Project |
en_US |
dc.email.advisor |
Sumrit.W@Chula.ac.th |
|