DSpace Repository

การศึกษาการใช้โปรแกรมจิตบำบัดประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
dc.contributor.author จริยา บุญเชิญ
dc.date.accessioned 2021-06-25T05:18:38Z
dc.date.available 2021-06-25T05:18:38Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74127
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract โครงการศึกษาอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตจากสุราก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดประคับประคอง กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าจากสุรา ที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยใน ณ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 20 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการศึกษาคือ โปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้า ของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา ซึ่งผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการศึกษา ได้แก่ แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของ Beck (1967) มีค่าความเที่ยง หาโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach 'Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.74 เครื่องมือกำกับการทดลอง ได้แก่ แบบประเมินความสำนึกในคุณค่าแห่งตน ของคูเปอร์ สมิท (Coopersmith, 1981) ซึ่งหาค่าความเที่ยง (Reliability) โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach 'Alpha Coefficient) ได้ค่าความเที่ยง 0.70 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนโดยการทดสอบค่าที (Dependent t - test) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ คะแนนเฉลี่ยภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตจากสุราของกลุ่มหลังการใช้กลุ่มจิตบำบัดประคับประคอง ลดลงกว่าก่อนการทดลอง
dc.description.abstractalternative The purpose of this independent study was to compare depression scores of alcoholic psychosis patients before and after receiving group supportive psychotherapy. The study sample were 20 depression alcoholic psychosis patients who were treated in patients department Somdetchaopraya institute of psychiatry. The instruments were group supportive psychotherapy, Beck depression inventory (BDI), and the self esteem questionnaire. The reliability of these instruments were .74 and .70 1 respectively. The dependent t-test was used in data analysis. The major finding was as follows: The mean scores of depression of alcoholic psychosis patients after receiving the group supportive psychotherapy program were significantly lower than before using such program, at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1919
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โรคจิตจากสุรา -- ผู้ป่วย -- การรักษา en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบประคับประคอง -- ไทย en_US
dc.subject โรคซึมเศร้า -- ผู้ป่วย -- ไทย en_US
dc.subject Alcoholic psychoses -- Patients -- Treatment en_US
dc.subject Supportive psychotherapy -- Thailand en_US
dc.subject Psychotic depression -- Patients -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการใช้โปรแกรมจิตบำบัดประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา en_US
dc.title.alternative A study of using group supportive psychotherapy on depression of alcoholic psychosis patients, Somdetchaopraya Institute of Psychiatry en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Oraphun.Lu@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2005.1919


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record