DSpace Repository

การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนต้นโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
dc.contributor.author ประภาพร ประศรี
dc.date.accessioned 2021-07-11T04:46:28Z
dc.date.available 2021-07-11T04:46:28Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74416
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครังนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนต้นในโรงเรียน มัธยมศึกษาก่อนและหลัง การใช้กลุ่มบำบัดประคับประคอง กลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นตอนต้นที่มีภาวะ ซึมเศร้าในโรงเรียนมัธยมศึกษาประจำอำเภอ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย กิจกรรมกลุ่มบำบัดประคับประคองและแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็ก CDI (Children ' ร Depression Inventory) โดยเครื่องมือทัง 2 ชุดนี ได้ผ่านการตรวจความตรงเชิงเนือหา จากผู้ทรงคุณวุฒิทัง 3 ท่าน สำหรับแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในเด็ก CDI ได้หาค่าความเที่ยง โดยสัมประสิทธิแอลฟาครอนบาคเท่ากับ .87 และ .80 ตามลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติทดสอบค่าที (paired t-test) ผลการศึกษาพบว่า คะแนนภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนต้นโรงเรียนมัธยมศึกษาอำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลดลงกว่าก่อนการใช้กลุ่มบำบัดประคับประคอง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative The purpose of this independent study was to compare depression scores of early adolescents before and after group supportive therapy. The purposive sample consisted of 20 depressed high school adolescents in Bangsai district, Pranakhonsriayudthaya province. Research instruments were group supportive therapy program and the Children’s Depression Inventory (CDI) which were evaluated for content validity by the three experts. The Children’s Depression Inventory (CDI) was tested for reliability by Cronbach’ alpha coefficient. The reliability of the inventory was .80. Statistical techniques used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and paired t-test. The results of this study include: Depression scores of early adolescents who received the group supportive therapy program was significantly lower than before receiving the group supportive therapy program at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2205
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความซึมเศร้าในวัยรุ่น -- ไทย en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบประคับประคอง -- ไทย en_US
dc.subject วัยรุ่น -- สุขภาพจิต -- ไทย en_US
dc.subject Depression in adolescence -- Thailand en_US
dc.subject Supportive psychotherapy -- Thailand en_US
dc.subject Adolescence -- Mental health -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดประคับประคองต่อภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นตอนต้นโรงเรียนมัธยมศึกษา อำเภอบางซ้าย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา en_US
dc.title.alternative A study of using group supportive therapy on depression among early adolescents in high school, Bangsai District, Pranakhonsriayudthaya Province en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Oraphun.Lu@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.2205


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record