dc.contributor.advisor |
สุธรรมา นิติเกษตรสุนทร |
|
dc.contributor.author |
เมธา สุธาพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-07-13T03:21:29Z |
|
dc.date.available |
2021-07-13T03:21:29Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74474 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศในยุค New Normal 2) พัฒนาปรับปรุงลักษณะการทำงานจากปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไป และ 3) หาแนวทางจัดการความเครียด โดยได้ทำการศึกษาผ่านแบบสอบถามจำนวน 152 คน และบทสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 10 คน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1) เจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศส่วนใหญ่มีระดับความเครียดในการปฏิบัติงานยุค New Normal อยู่ในระดับเครียดปานกลาง 2) ปัจจัยที่เกี่ยวกับงาน ปัจจัยที่เกี่ยวกับปัจเจกบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และปัจจัยที่มีผลมาจากยุค New Normal มีความสัมพันธ์กับความเครียด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยปัจจัยที่เกี่ยวกับปัจเจกบุคคล มีความสัมพันธ์กับความเครียดในการปฏิบัติงานมากที่สุด มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.586 3) ปัจจัยที่เกี่ยวกับปัจเจกบุคคล ปัจจัยที่เกี่ยวกับสภาพแวดล้อม และปัจจัยที่มีผลมาจากยุค New Normal ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยตัวแปรต้นหรือปัจจัยที่สนใจในการวิจัยทั้ง 4 ตัวนี้ สามารถทำนายตัวแปรตามหรือระดับความเครียดในการปฏิบัติงานได้ 45.6% และ 4) วิธีการจัดการความเครียดในการปฏิบัติงานส่วนมากคือ การพักผ่อนและทำกิจกรรมกับครอบครัว ส่วนวิธีการจัดการความเครียดขององค์การคือ การจัดตารางปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับปริมาณเที่ยวบินที่ลดน้อยลง |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research are 1) to study factors affecting stress among air traffic controllers in the New Normal Era, 2) to improve the working regulations, and 3) to find solutions for stress management. Methodology used in this study includes survey questions on 152 participants and in-depth interview of 10 participants. Results show that
1) Most air traffic controllers have moderate stress level in the New Normal Era. 2) Working, personal, environmental, and New Normal Era-related factor show statically significant correlation with the working stress at 0.01. Personal factor is most highly correlated to the stress with a correlation coefficient at 0.586. 3) Individual personal, Environment and the results from the New Normal Era related to air traffic controllers’ working stress in the New Normal Era with statistically significant at 0.05. Independent variables from this research related dependent variable was 45.6%. and 4) Common approach for stress management on a personal level is relaxing and spending quality time with family. In addition, stress management in the organization can be done by scheduling working hours in corresponding to flight volume. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.433 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
ความเครียดในการทำงาน |
|
dc.subject |
พนักงานควบคุมจราจรทางอากาศ -- ความเครียดในการทำงาน |
|
dc.subject |
Job stress |
|
dc.subject |
Air traffic controllers -- Job stress |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ควบคุมจราจรทางอากาศในยุค New Normal กรณีศึกษา ศูนย์ควบคุมจราจรทางอากาศเส้นทางบินกรุงเทพ
บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด |
|
dc.title.alternative |
Factors affecting air traffic controllers' working stress in the new normal era: a case study of Bangkok area control center in aeronautical radio of Thailand limited |
|
dc.type |
Independent Study |
|
dc.degree.name |
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
รัฐประศาสนศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.IS.2020.433 |
|