dc.contributor.advisor |
จินตนา ยูนิพันธุ์ |
|
dc.contributor.author |
สุภาภรณ์ เจียวยี่ |
|
dc.date.accessioned |
2021-07-13T10:04:29Z |
|
dc.date.available |
2021-07-13T10:04:29Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74489 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 |
en_US |
dc.description.abstract |
โครงการศึกษาอิสระเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าและความสามารถใน การเผชิญปัญหาของวัยรุ่นก่อนและหลังการใช้กลุ่มการเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นการศึกษาแบบกลุ่ม เดียววัดก่อนและหลัง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนอายุ 15-18 ปี กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3-6 ใน โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จังหวัดเพชรบุรี ที่มีภาวะซึมเศร้าและความสามารถในการเผชิญปิญหาไม่ดีหรือ พอใช้ ซึ่งได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คุณสมบัติ จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การศึกษา คือ คู่มือการทำกลุ่มการเสริมสร้างพลังอำนาจ แบบประเมินแหล่งพลังอำนาจ และแบบประเมิน ความคิดอัตโนมัติด้านลบ เครื่องมือการเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (CES-D) และแบบประเมินความสามารถในการเผชิญปิญหา ค่าความเชื่อมั่น แอลทำครอนนาค เครื่องมือ รวบรวมข้อมูลเท่ากับ .86 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าคะแนนโดย Wilcoxon Signed Ranks Test ผลการศึกษาพบว่า ภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นหลังได้รับกลุ่มเสริมสร้างพลังอำนาจ ตํ่ากว่าก่อนได้รับกลุ่มเสริมสร้างพลังอำนาจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความสามารถในการเผชิญปิญหาในวัยรุ่นหลังได้รับกลุ่มเสริมสร้างพลังอำนาจ สูงกว่าก่อนได้รับกลุ่มเสริมสร้างพลังอำนาจ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this independent study was to compare depression and coping ability of adolescents before and after attending group empowerment. The sample consisted of 21 high school adolescents in Suksasongkra school, Cha-am district, Phetchaburi province who met the inclusion criteria. The instrument composed of group empowerment manual and two scales which were designed to sources of power, automatic negative thought. Pretest and posttest data were collected using the Center for Epidemiologic Studies - Depression Scale (CES-D) and coping ability scale. The Cronbach’s Alpha Coefficient reliability of the latter two scales were .86 and .89, respectively. Statistical techniques used in data analysis were mean, standard deviation and Wilcoxon signed Ranks test. Major finding was as followed: The depression of adolescents after receiving the group empowerment was significantly lower than before the experiment, at the .05 level. The coping ability of adolescents after receiving the group empowerment was significantly higher than before the experiment, at the .05 level. |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2209 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ความซึมเศร้าในวัยรุ่น -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
การปรับตัว (จิตวิทยา) ในวัยรุ่น -- ไทย |
en_US |
dc.subject |
Depression in adolescence -- Thailand |
en_US |
dc.subject |
Adjustment (Psychology) in adolescence -- Thailand |
en_US |
dc.title |
การศึกษาการใช้กลุ่มเสริมสร้างพลังอำนาจต่อภาวะซึมเศร้าและความสามารถในการเผชิญปัญหาของวัยรุ่นในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จังหวัดเพชรบุรี |
en_US |
dc.title.alternative |
Effects of using group empowerment on depression and coping ability in adolescents, Suksasongkra School, Phetchaburi Province |
en_US |
dc.type |
Independent Study |
en_US |
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.email.advisor |
Jintana.Y@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2007.2209 |
|