DSpace Repository

การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิดต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีธัญญา

Show simple item record

dc.contributor.advisor เพ็ญพักตร์ อุทิศ
dc.contributor.author สุภาวดี ธัมมะรักขิต
dc.date.accessioned 2021-07-16T04:37:33Z
dc.date.available 2021-07-16T04:37:33Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74521
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract การศึกษาอิสระแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนและหลังครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะ ซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า ก่อนและหลังการเข้าร่วมการ ใช้กลุ่มบําบัดทางพฤติกรรมความคิด กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าจํานวน 20 คน ซึ่งได้รับการคัดเลือกตามเกณฑ์คุณสมบัติจากแผนก ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีธัญญา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย การใช้กลุ่มบําบัดทาง พฤติกรรมความคิด แบบประเมินภาวะซึมเศร้าของ Beck (1967) และเครื่องมือกํากับการศึกษา คือแบบ ประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบของ Hollon & Kendol (1980) โดยเครื่องมีทั้ง 3 ชุด ได้ผ่านการ ตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช จํานวน 3 คน เครื่องมือ 2 ชุดหลัง มีค่าความเที่ยงโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 91 และ .89 ตามลําดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ ทดสอบค่าที (paired t-test) ผลการศึกษาที่สําคัญสรุปได้ดังนี้ คะแนนภาวะซึมเศร้า ของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังการได้รับกลุ่มบําบัดทางพฤติกรรมความคิด ต่ํากว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( = 17.76)
dc.description.abstractalternative This Independent one group pretest - posttest study was aimed at comparing depression scores of patient with major depressive disorder before and after receiving group cognitive behavior therapy. The study sample of 20 patients with major depressive disorder who met the inclusion criteria were recruited from out-patient unit, Srithanya Hospital. The instruments utilized in thisstudy were Group Cognitive Behavior Therapy, Beck Depression Inventory and Automatic Thoughts Questionnaire. All instruments were validated for content validity by three professional experts. The reliability of the two latter instruments were 91 and .89, respectively. Statistical techniques used for data analysis were percentage, mean, standard deviation and paired t-test. The major finding was as follows: Depression of patients with major depressive disorder who received the group cognitive behavior therapy was significantly lower than that before at p.05 level (t = 17.76).
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2210
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โรคซึมเศร้า -- ผู้ป่วย -- ไทย en_US
dc.subject ความซึมเศร้า -- ไทย en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบความคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -- ไทย en_US
dc.subject Psychotic depression -- Patients -- Thailand en_US
dc.subject Depression, Mental -- Thailand en_US
dc.subject Cognitive therapy -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมความคิดต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลศรีธัญญา en_US
dc.title.alternative Study of using group cognitive behavioral therapy on depression of major depressive disorder patients, Out Patient Unit, Srithanya Hospital en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Penpaktr.U@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.2210


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record