DSpace Repository

การศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิดร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบกลุ่ม ต่อภาวะวิตกกังวลของผู้ป่วยสูงอายุโรควิตกกังวล อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor รังสิมันต์ สุนทรไชยา
dc.contributor.author วันเพ็ญ ฆ้องทอง
dc.date.accessioned 2021-07-16T05:58:22Z
dc.date.available 2021-07-16T05:58:22Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74536
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 en_US
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนภาวะวิตกกังวลก่อนและหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิดร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้าเนื้อแบบกลุ่มของผู้ป่วยสูงอายุโรควิตกกังวล ที่เข้ารับการตรวจรักษาและดูแลสุขภาพ โรงพยาบาลลำสนธิและสถานีอนามัยวังทอง อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยสูงอายุโรควิตกกังวลได้รับการคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิดร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ได้ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวล และแบบประเมินความคิดอัตโนมัติด้านลบ ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .85และ .80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิตเชิงพรรณนา และ สถิติทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า คะแนนภาวะวิตกกังวลของผู้ป่วยสูงอายุโรควิตกกังวลภายหลังการเข้าร่วมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิดร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบกลุ่ม ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิตที่ระดับ.05
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was to compare the anxiety score before and after using group cognitive behavior therapy with progressive muscle relaxation. A purposive sampling of 20 older Patients with generalized anxiety disorder was participated. Subjects were treated at the outpatient department of lumsonti hospital and wangthong Primaly Care Unit. The study instrument was the cognitive behavior program with program with progressive muscle relaxation. The content of this program program was validated by 3 experts. The state-trait anxiety inventory and the automatic thought questionnaire were used for data collection. The Cronbach’s Alpha coefficient reliability of these questionnaires were .85 and .80. Data were analyzed by descriptive statistics and paired t-test. The results of this study include: The anxiety score of the older patients with generalized anxiety disorder after participatory group cognitive behavior therapy with progressive muscle relaxation was significantly at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.2214
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ความวิตกกังวลในผู้สูงอายุ -- ไทย en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบความคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -- ไทย en_US
dc.subject การผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบโพรเกรสสิพ -- ไทย en_US
dc.subject Anxiety in old age -- Thailand en_US
dc.subject Cognitive therapy -- Thailand en_US
dc.subject Progressive muscle relaxation -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิดร่วมกับการฝึกผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบกลุ่ม ต่อภาวะวิตกกังวลของผู้ป่วยสูงอายุโรควิตกกังวล อำเภอลำสนธิ จังหวัดลพบุรี en_US
dc.title.alternative A study of using group cognitive behavior therapy with progressive muscle relaxation on anxiety in older patients with generalized anxiety disorder, Lumsonti District, Lopburi Province en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Rangsiman.S@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.2214


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record