DSpace Repository

การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมต่อการดื่มสุราในผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย
dc.contributor.author จรีรัตน์ ไกรวงษ์
dc.date.accessioned 2021-07-18T05:00:56Z
dc.date.available 2021-07-18T05:00:56Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74557
dc.description สารนิพนธ์ (พย.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 en_US
dc.description.abstract การศึกษาอิสระแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลังครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการดื่มสุราของผู้ป่วยติดสุรา ก่อนและหลังการเข้าร่วมการใช้กลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคจิตจากสุราที่รับการรักษาในแผนกผู้ป่วยใน สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินการศึกษามี 3 ชุด ได้แก่ 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมกลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม 2) เครื่องมือกำกับการศึกษา คือ แบบสอบถามทัศนคติที่มีต่อกระบวนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดื่มสุรา และ 3) แบบสอบถามปริมาณการดื่มสุราของ Sobell et al. (1992) เครื่องมือทั้ง 3 ชุด ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านการพยาบาลสุขจิตและจิตเวช จำนวน 3 ท่าน สำหรับเครื่องมือ ชุดที่ 2 ได้วิเคราะห์ความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค Cronbach alpha coefficient ค่าความเที่ยง 0.84 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ การดื่มสุราของผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา หลังได้รับกลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมต่ำกว่าก่อนได้รับกลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternative This independent study was aimed to drink alcohol of patient alcoholic psychosis disorder before and after receiving group cognitive behavior therapy. The study sample were 20 patient with alcoholic psychosis disorder who admitted in Somdet chaopraya institute of psychiatry. The instruments utilized in this study were 1) Group Cognitive Behavior Therapy Program, 2) The Process of Change Alcohol Questionnaire a and 3) Time Line Follow Back. All instruments were validated for content validity by three professional experts. The reliability of the Questionnaire was. 84. Statistical techniques used for data analysis were percentage, mean Standard deviation and paired t = test. The major finding was as follows: Alcohol consumption of patient alcoholic psychosis disorder after receiving group cognitive behavior therapy significantly, at the .05 level.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2108
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject โรคจิตจากสุรา -- ผู้ป่วย -- ไทย en_US
dc.subject การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ -- ไทย en_US
dc.subject จิตบำบัดแบบความคิดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม -- ไทย en_US
dc.subject Psychotic depression -- Patients -- Thailand en_US
dc.subject Drinking of alcoholic beverages -- Thailand en_US
dc.subject Cognitive therapy -- Thailand en_US
dc.title การศึกษาการใช้กลุ่มบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมต่อการดื่มสุราในผู้ป่วยโรคจิตจากสุรา สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา en_US
dc.title.alternative A study of using group cognitive behavior therapy on alcohol consumption in alcoholic psychosis patients, Somdet Chaopraya Institute of Psychiatry en_US
dc.type Independent Study en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2008.2108


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Nurse - Independent Studies [132]
    โครงการการศึกษาอิสระ คณะพยาบาลศาสตร์

Show simple item record