dc.contributor.advisor |
เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์ |
|
dc.contributor.author |
สุณี ฉิมพิบูลย์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
จังหวัดสมุทรสงคราม |
|
dc.date.accessioned |
2021-08-09T05:23:43Z |
|
dc.date.available |
2021-08-09T05:23:43Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74834 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
en_US |
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้เป็นการดำเนินโดรงการศึกษาอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทก่อนและหลังการใช้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา ที่เน้นกระบวนการกลุ่ม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยจิตเภทที่มารับการตรวจรักษาที่คลินิกจิตเวช แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งได้รับการเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาที่เน้นกระบวนการกลุ่มที่ได้พัฒนา ตามแนวคิดของ Anderson et al (1980:1983) และกระบวนการกลุ่มของ Maram (1978) เครื่องมือกำกับการศึกษาคือ แบบประเมินความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะรับการรักษาด้วยยารักษาจิตเวช และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท ซึ่งเครื่องมือทุกชุดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดย ผู้ทรงคุณวุฒิ งำนวน 3 ท่าน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินความรู้มีค่า KR-20 เท่ากับ .80 และแบบวัดความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท ค่าความเที่ยง KR-20 เท่ากับ .82 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และเปรียบเทียบความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภทความก่อนและหลังคำเนินโครงการโดยใช้สถิติทดสอบที (Dependent t-test) ผลการศึกษาที่สำคัญ สรุปได้ดังนี้ ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท หลังได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาที่เน้นกระบวนการกลุ่มสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมสุขภาพจิตศึกษา ที่เน้นกระบวนการกลุ่ม อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ.05 |
|
dc.description.abstractalternative |
The objective of this independent study was to compare medication compliance of schizophrenic patients before and after the utilization of the group psychoeducation program. A purposive sample of 20 schizophrenic patients who met the inclusion criteria were recruited from the Outpatient Department of Napalai Hospital, Samutsongkharm province. The instrument utilized in this study was a group psychoeducation program which was developed based on Anderson's psychoeducation concept (1980) and group process of Marram (1978). The monitoring questionnaire was a self-test about knowledge of Self-management. Data was collected using medication compliance assessment scale. All instruments were examined for content validity by 3 experts. The reliability of the knowledge on Self-management was reported using KR-20 as .80 and the reliability of the medication compliance assessment scale using KR-20 as .75. Frequency, percentile, mean and dependent t-test were used for data analysis. Major findings were as follows : The total score post-test as well as medication compliance of schizophrenic patients after using the group psycho education program was significantly higher than that at p .05 |
|
dc.language.iso |
th |
en_US |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |
dc.subject |
ผู้ป่วยจิตเภท |
en_US |
dc.subject |
การรักษาด้วยยา |
en_US |
dc.subject |
สุขภาพจิต |
|
dc.subject |
Schizophrenics |
|
dc.subject |
Mental health |
|
dc.title |
การศึกษาการใช้โปรแกรมสุขภาพจิตศึกษาที่เน้นกระบวนการกลุ่มต่อความร่วมมือในการรักษาด้วยยาของผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลนภาลัย จังหวัดสมุทรสงคราม |
en_US |
dc.title.alternative |
A study of using psychoeducation program exphasizing group process on medication compliance of schizophrenic patients, Napala Hospital, Samusongkhram Province |
en_US |
dc.type |
Independent Study |
en_US |
dc.degree.name |
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต |
en_US |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en_US |
dc.degree.discipline |
การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช |
en_US |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en_US |