DSpace Repository

การหาปริมาณความเข้มข้นของตะกั่วในอากาศ โดยเทคนิคการการเรืองรังสีเอกซ์

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธัชชัย สุมิตร
dc.contributor.author สุนันทา ทิพย์มาลย์มาศ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-08-13T02:32:59Z
dc.date.available 2021-08-13T02:32:59Z
dc.date.issued 2532
dc.identifier.isbn 9745760285
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/74873
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532 en_US
dc.description.abstract ในการศึกษาหาปริมาณความเข้มข้นของตะกั่วในอากาศโดยเทคนิคการเรืองรังสีเอกซ์ระบบ EDX นั้นได้ใช้หัววัด เจอร์มาเนียมบริสุทธิ์สูง HPGe ORTEC MODEL CLP-06165 และอุปกรณ์วิเคราะห์สัญญาณแบบหลายช่อง MCA CANBEPPA SERIES-40 พบว่าต้นกำเนิดรังสีที่เหมาะสมที่สุดสำหรับการวิเคราะห์ตะกั่ว คือ Pu 238 โดยจัดระยะห่างระหว่างต้นกำเนิดรังสีกับตัวอย่างเท่ากับ 7 มิลลิเมตร และเวลาที่ใช้ในการนับรังสีเท่ากับ 2000 วินาที จากการวิเคราะห์ตัวอย่างอากาศ ซึ่งดูดโดยผ่านกระดาษกรองเมมเบรน (ชนิด AA) และกระดาษกรองเซลลูโลส (Whatman เบอร์ 42) ปรากฏว่าค่าต่ำสุดของตะกั่วที่วิเคราะห์ได้บนกระดาษกรองจากผลการทดลองมีค่าประมาณ 9 ไมโดรกรัมจากการเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ระหว่างเทคนิคการเรืองรังสีเอกระบบ EDX, WDX และวิธีอะตอมมิดแอบสอร์ปซันสเปคโตรโฟโตเมตรี ปรากฏผลว่าวิธีทั้ง 3 ให้ผลทัดเทียมกันโดยมีระดับนัยสำคัญ .01 จากการออกเก็บตัวอย่างภาคสนามในโรงงานผลิตแบตเตอรี่แห่งหนึ่งปรากฏว่าความเข้มข้นของตะกั่วในอากาศสูงที่สุดที่ตรวจวัดได้โดยระบบ EDX มีค่า 0.172 มิลลิกรัม / ลูกบาศก์เมตร (เฉลี่ย 8 ชั่วโมง) ในขณะที่เมื่อวิเคราะห์โดยวิธีอะตอมมิคแอบสอร์ปซันสเปคโตรโฟโตเมตร 2 เครื่อง คือ เครื่อง Perkin Elmer 4000 และเครื่อง Shimadzu AA650 ได้ค่า 0.153 และ 0.140 มิลลิกรัม / ลูกบาศก์เมตรตามลาดับ
dc.description.abstractalternative Determination of lead concentration in air using x-ray fluorescence was done mainly by the EDX technique. The measuring system consists of an x-ray ring source, a HPGe detector ORTEC MODEL GLP-06165 and an MCA CANBERRA SERIES-40. It was found that the most suitable source for the analysis was the 1.11 GBq Pu-238. The system was arranged coaxially with the source placed in the middle, directly on the detector. The optimum distance between the source and the sample was 7 mm, and the counting time was 2000 S. The minimum detectable quantity of lead on membrane filter (AA grade) and cellulose filter (Whatman # 42) was found to be about 9 ug. The 3 methods of analysis, i, e., EDX, WDX, AS were found to give the same result with .01 of significance level. Field tests in a battery factory shoued that the highest concentration of lead in air was 0.172 mg/m3 (8-hr average) when using the EDX method. While the values of 0.153 and 0.140 mg/m3 were determined by the AAS method using Perkin Elmer 4000 and Shimadzu AA 650 respectively.
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject ตะกั่ว en_US
dc.subject อากาศ -- การวิเคราะห์ en_US
dc.subject มลพิษทางอากาศ -- การวัด en_US
dc.subject รังสีเอกซ์ en_US
dc.subject Lead en_US
dc.subject Air -- Analysis en_US
dc.subject Air -- Pollution -- Measurement en_US
dc.subject X-rays en_US
dc.title การหาปริมาณความเข้มข้นของตะกั่วในอากาศ โดยเทคนิคการการเรืองรังสีเอกซ์ en_US
dc.title.alternative Determination of lead concentration in air using x-ray Fluorescence technique en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline นิวเคลียร์เทคโนโลยี en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.email.advisor Tatchai.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record