dc.contributor.advisor |
Hathaikarn Manuspiya |
|
dc.contributor.advisor |
Ruksapong Kunanuruksapong |
|
dc.contributor.author |
Aphichaya Bunleechai |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-08-25T03:32:28Z |
|
dc.date.available |
2021-08-25T03:32:28Z |
|
dc.date.issued |
2013 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75034 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 |
|
dc.description.abstract |
Polycarbonate (PC), one of the engineering thermoplastic, has been attractive to use in various applications owing to its excellent impact resistance and transparency. However, the poor scratch resistance of PC could limit some applications. In this research, the scratch resistance of PC is aimed to be improved by blending PC with poly(methyl methacrylate) (PMMA). PMMA is well known for high scratch resistance but also has some limitations like low impact strength. Then, the blend of PC and PMMA can cause the synergistic properties of PC and PMMA. PC/PMMA alloys generally are immiscible blends which produce phase separation of these two components and result in poor mechanical properties especially the impact strength. In order to improve the compatibility between PC and PMMA, the compatibilizers, poly(ethylene-co-methacrylic acid) (EMAA), ethylene methyl acrylate copolymer (EMA) and ethylene/methyl acrylate/glycidyl methacrylate terpolymer (EMG), were selected to improve the compatibility of alloys. Most compatibilizers improve the impact strength of the alloys but the drawback is the opaque of alloy resin. To maintain the transparency of PC and PMMA, the transesterification catalysts samarium acetylacetonate hydrate (SMACA) and Tin(Il)chloride dihydrate(SnCl₂.2H₂O), were chosen to generate the graft copolymer of PC and PMMA for compatibilization. According to the study, PC80/PMMA20/EMA5 and PC80/PMMA20/EMGl alloys exhibited the outstanding properties in impact strength than can comparable to neat PC. Therefore. they were selected to compare with commercially available benchmarks. |
|
dc.description.abstractalternative |
พอลิคาร์บอเนตเป็นพลาสติกเชิงวิศวกรรมชนิดหนึ่งที่มีความใส และมีความสามารถในการทนแรงกระแทกได้สูง แต่มีความสามารถในการทนทานต่อการขีดข่วนได้ต่ำ ดังนั้นในงานวิจัยนี้ได้ทำการผสมพอลิคาร์บอเนตกับพอลิ (เมทิลเมทาคริเลต) ซึ่งมีความใสเช่นเดียวกัน และมีความสามารถในการทนทานต่อการขีดข่วนได้ดี เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณสมบัติการทนทานต่อการขีดข่วน อย่างไรก็ตาม การผสมพอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) เกิดการแยกวัฏภาคระหว่างพอลิเมอร์ทั้งสองชนิดส่งผลให้พอลิเมอร์ผสมที่ได้มีความทึบ ดังนั้นจึงต้องทำการเพิ่มความเข้ากันได้ระหว่างพอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) สารเพิ่มความเข้ากันได้จึงถูกเลือกมาใช้ในการผสมพอลิเมอร์ทั้งสองชนิดเพื่อช่วยให้มีความเข้ากันได้ดียิ่งขึ้น สารเพิ่มความเข้ากันที่เลือกใช้ ได้แก่ พอลิเอธีลีน-โค-เมทิลอะคริลิค แอซิด, เอธิลีน-เมทิลอะคริเลท โคพอลิเมอร์ และ เอธิลีน-เมทิลอะคริเลท-ไกลซิดิล เมทาคริเลท เทอร์พอลิเมอร์ และเมื่อทำการเติมสารเพิ่มความเข้ากันได้ลงในกระบวนการผสมแล้วทำให้ความแข็งแรงพอลิเมอร์ผสมนั้นเพิ่มขึ้น แต่ข้อด้อยคือพอลิเมอร์ผสมที่ได้ยังคงความทึบอยู่ อีกทั้งคุณสมบัติทางด้านการยืดและการงอมีค่าลดลงเมื่อเพิ่มปริมาณสารเพิ่มความเข้ากันได้ ดังนั้น ตัวเร่งปฏิกิริยา ซามาเลี่ยม อะซิทิลอะซิโทเนตไฮเดรท และทิน(II)คลอไรด์ไดไฮเดรท จึงถูกเลือกมาใช้ในการเร่งปฏิกิริยาทางเคมีระหว่างพอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) เพื่อศึกษาความเข้ากันได้และคุณสมบัติทางแสงของพอลิเมอร์ผสม นอกจากนี้วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ยังได้ทำการศึกษาและรายงานผลจากการผสมสารเข้ากันได้และสารเติมแต่งของพอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) ต่อสัณฐานวิทยา, คุณสมบัติเชิงกายภาพ, คุณสมบัติเชิงกล และคุณสมบัติทางความร้อน จากผลการทดลองทั้งหมด พบว่า การเติมสารเพิ่มความเข้ากันได้ คือ เอธิลีน-เมทิลอะคริเลท โคพอลิเมอร์ ในปริมาณ 5 ส่วนใน 100 ส่วนของพอลิเมอร์ผสม และเอธิลีน-เมทิลอะคริเลท-ไกลซิดิล เมทาคริเลท เทอร์พอลิเมอร์ ในปริมาณ 1 ส่วนใน 100 ส่วนของพอลิเมอร์ผสมลงไปในพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) ในอัตราส่วน 80:20 ให้ผลการทดสอบความทนแรงกระแทกสูงเทียบเท่าพอลิคาร์บอเนต ดังนั้น พอลิเมอร์ผสมดังกล่าวจึงถูกนำไปเปรียบเทียบคุณสมบัติต่าง ๆ กับพอลิเมอร์ผสมทางการค้า |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2002 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Plastics -- Research |
|
dc.subject |
Polycarbonates |
|
dc.subject |
พลาสติก -- วิจัย |
|
dc.subject |
โพลิคาร์บอเนต |
|
dc.title |
Research and development of polycarbonate/poly(methyl methacrylate) alloys |
|
dc.title.alternative |
การวิจัยและพัฒนาพลาสติกผสมระหว่างวิศวกรรม พอลิคาร์บอเนตและพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต) |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.email.advisor |
Hathaikarn.Ma@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Anuvat.S@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2013.2002 |
|