DSpace Repository

ปัจจัยคัดสรรที่ทำนายการทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศรีษะ

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชนกพร จิตปัญญา
dc.contributor.author นรีรัตน์ นิลขำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-08-25T07:31:10Z
dc.date.available 2021-08-25T07:31:10Z
dc.date.issued 2548
dc.identifier.isbn 9741739397
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75064
dc.description วิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 en_US
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการพยากรณ์ของระดับความพิการของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะปัจจัยส่วนบุคคลประเมินความเครียด การสนับสนุนทางสังคมการเผชิญความเครียดของสมาชิกครอบคกับการทำหน้าที่ของครบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศึกษากลุ่มตัวอย่างที่สมาชิกครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และโรงพยาบาลตำรวจจำนวน 170 คน ได้จากการเลือกแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินระดับความพิการ แบบวัดการประเมินความเครียด แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม แบบสอบถามการเผชิญความเครียด และแบบสอบถามการทำหน้าที่ของครอบครัว โดยเครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและหาค่าความเที่ยงของแบบวัดการประเมินความเครียดจำแนกตามรายด้าน คือค้านอันตรายหรือความสูญเสียความคุกคาม , และความท้าทาย แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม, แบบสอบถามวิธีการเผชิญความเครียด และแบบสอบถามการทำหน้าที่ของครอบครัวเท่ากัน 58,77,88,84,75 และ 87 ตามลำดับวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูนแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1 การทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( x̄ = 3.09,SD=.37 ) 2. สมาชิกครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะมีการประเมินความเครียดด้านอันตรายหรือความสูญเสียด้านความคุกคาม และด้านความท้าทายอยู่ในระดับปานกลาง (x̄ = 2.27,2.33 และ 2.26 SD = 45,57,และ77 ตามลำดับ) 3. สมาชิกครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะมีการสนับสนุนทางสังคมโดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง (x̄ = 4. 45, SD = 63) 4. สมาชิกครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะใช้การเผชิญความเครียดแบบมุ่งแก้ปัญหาและการเผชิญความเครียดแบบมุ่งปรับอารมณ์อยู่ในระดับปานกลาง (x̄: 26 และ 2 35 SD: 42 และ 32 ตามลำดับ) 5. การสนับสนุนทางสังคม การประเมินความเครียดด้านความท้าทาย การประเมินความเครียดด้านความคุกคามและรายได้สามารถร่วมกันพยากรณ์การทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 โดยมีอำนาจการพยากรณ์ได้รับยละ 64. 60 และสร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ การทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ = + 482 (การสนับสนุนทางสังคม) + 267 (การประเมินความเครียดด้านความท้าทาย) -233 (การประเมินความเครียดด้านความคุกคาม) + 115 (รายได้)
dc.description.abstractalternative This study is correlation research. The purpose of this study w as to investigate the Relationships between disability, personal factor. stress appraisal, social support, coping, and family functioning of traumatic brain injury patients. The subjects were 170 family members of traumatic brain injury patients in Chulalongkorn Memorial Hospital and Police Hospital selected by purposive sampling technique. The instruments used for data collection were the Demographic Data Questionnaire, the Disability Scale, the Stress Appraisal Scale, the Social Support Questionnaire, the Ways of Coping Questionnaire, and the Family Functioning Scale. These instruments were tested for content validity by a panel of experts. The reliability of harm -loss, threat, and challenge of stress appraisal scale, the Social Support Questionnaire, coping Questionnaire, the Family Functioning scale were .58, .77, .88, .84, and .87, respectively. The data were analyzed using Pearson’s Product moment Correlation and Stepwise Multiple Regression. The results of this study revealed that 1. Family functioning of traumatic brain injury patients was at a moderate level (x̄ = 3.09, SD=37) 2. Harm -loss, threat, and Challenge of stress appraisal of traumatic brain injury patients were at a moderate level (x̄= 2.27, 2.33 and 2.26, SD = .45, .57, and .77, respectively). 3. Social Support of traumatic brain injury patients was at a high level (x̄ = 4.45, SD =.63). 4. Problem focus and emotional focus of coping of traumatic brain injury patients w ere at a moderate level (x̄ = 2.6 and 2.35, SD = .49 and .32, respectively). 5. Social Support, Challenge and threat of stress appraisal. Income were statistically significant predicted family functioning of traumatic brain injury patients at the level of .05. The predicted power was 64.60% of Family Functioning variance. The equation derived from standardize score was: Family functioning of traumatic brain injury patients = +.482 (Social Support ).37). + .267 (Challenge of stress appraisal) -.233 (threat of stress appraisal) + .115 (Income)
dc.language.iso th en_US
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.subject การบาดเจ็บ en_US
dc.subject บาดเจ็บศีรษะ -- การพยาบาล en_US
dc.title ปัจจัยคัดสรรที่ทำนายการทำหน้าที่ของครอบครัวผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศรีษะ en_US
dc.title.alternative Selected predictors of family functioning in traumatic brain injury patients en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต en_US
dc.degree.level ปริญญาโท en_US
dc.degree.discipline พยาบาลศาสตร์ en_US
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record