DSpace Repository

Effects of salinity on microemulsion based monoglyceride oily soil detergency using an extended surfactant

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sumaeth Chavadej
dc.contributor.advisor Scamehorn, John F.
dc.contributor.author Nuntapron Trisinsomboon
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-08-25T09:49:22Z
dc.date.available 2021-08-25T09:49:22Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75081
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract The objective of this research was to apply a microemulsion-based formation with low salinity for oily soil detergency for monoglyceride removal from fabrics. To form middle phase microemulsions (Winsor Type III), three different surfactants were used: an extended surfactant (C₁₂¸₁₃-4PO-SO₄Na), an ionic surfactant; 1-dodecanol (CH₃(CH₂)₁₁OH), a lipophilic linker; and sodium mono- and dimethyl naphthalene sulfonate (SMDNS), a hydrophilic linker. Methyl palmitate was selected as a monoglyceride oily soil model. Two types of standard unsoiled fabrics were studied: pure polyester and polyester/cotton blend (65:35). For the detergency experiments, soiled fabrics were cleaned by using a Terg-O-Tometer at different total surfactant concentrations, salinities and washing temperatures (20 to 50ºC) to cover both below and above the melting point of the studied oil (30ºC). The results showed that the mixed surfactants of 55 part of C₁₂¸₁₃-4PO-SO₄Na, 41 part of 1-dodecanol, and 4 part of SMDNS provided a maximum detergency of 70 % oil removal at a 0.3 %w/v total surfactant concentration with an optimum salinity of 3 %ow/v at any washing temperature above the melting point. In addition, the re-deposition of removed oil decreased on all three types of fabrics as the washing temperature increased. The detergency efficiency on polyester/cotton blend fabric was the highest than that on other fabrics at any given washing temperature.
dc.description.abstractalternative วัตถุประสงค์หลักของงานวิจัยนี้คือ เพื่อศึกษาการเกิดไมโครอิมัลชั่นที่มีประสิทธิภาพในการซักและขจัดคราบน้ำมันโมโนกลีเซอไรด์ที่ติดอยู่บนผิวของผ้าโดยที่ใช้ความเข้มข้นของเกลือต่ำ การเกิดไมโครอิมัลชั่นที่เฟสกึ่งกลาง (วินเซอร์ชนิดที่ 3) ต้องใช้สารลดแรงตึงผิวที่แตกต่างกัน 3 ชนิด ประกอบไปด้วย : สารลดแรงตึงผิวแบบขยายโมเลกุล (Extended surfactant; C₁₂¸₁₃-4PO-SO₄Na) เป็นสารลดแรงตึงผิวชนิดไอออนิก, 1-โดเดคานอล (CH₃(CH₂)₁₁OH) เป็นสารเชื่อมประสานไลโปฟิลลิก (lipophilic linker) และโซเดียม โมโน-และ ไดเมทิล แนฟทาลีน ซัลโฟเนท (SMDNS) เป็นตัวเติมชนิดไฮโดรฟิลลิก (hydrophilic linker) เมทิล ปาล์มิเตท (Methyl palmitate) ถูกเลือกใช้เพื่อนำมาศึกษาแบบจำลองของน้ำมันโมโนกลีเซอไรด์ และทดลองกับผ้า 2 ชนิด ได้แก่ ผ้าพอลิเอสเทอร์บริสุทธิ์และผ้าผสมพอลิเอสเทอร์กับฝ้าย (อัตราส่วน พอลิเอสเทอร์: ฝ้าย 65:35) สำหรับการทดลองของการซักล้าง ผ้าที่ถูกย้อมจะถูกทำความสะอาดด้วยเครื่องทดสอบการซักฟอก (Terg-O-Tometer) ที่ระดับความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวและระดับความเค็มแตกต่างกัน และที่อุณหภูมิในการซักล้างต่าง ๆ กัน (ตั้งแต่อุณหภูมิ 20 ถึง 50 องศาเซลเซียส ซึ่งอุณหภูมิดังกล่าวได้ครอบคลุมจุดหลอมเหลวของน้ำมัน (30 องศาเซลเซียส) ผลของการทดลองพบว่าการผสมสารลดแรงตึงผิวของ 55 ส่วนของสารลดแรงตึงผิว แบบขยายโมเลกุล, 41 ส่วนของ 1-โดเดคานอล และ 4 ส่วนของโซเดียม โมโน- และ ไดเมทิล แนฟทาลีน ซัลโฟเนท สามารถขจัดคราบน้ำมันสูงสุด ขจัดได้ 70 % ของความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว 0.3%โดยมวลต่อปริมาตร และความเข้มข้นของเกลือ (Sodium Chloride) 3 %โดยมวลต่อปริมาตร ที่อุณหภูมิในการซักล้างสูงกว่าจุดหลอมเหลวของน้ำมัน นอกจากนี้การกลับมาเกาะใหม่ของคราบน้ำมันที่ขจัดออกไปแล้วบนทุกผิวผ้าจะมีค่าลดลงเมื่อเพิ่มอุณหภูมิในการซักล้าง ดังนั้นประสิทธิภาพในการซักล้างบนผิวผ้าผสมพอลิเอสเทอร์กับฝ้ายมีค่ามากที่สุดของทุก ๆ อุณหภูมิในการซักล้าง
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1990
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Surface active agents
dc.subject Monoglycerides
dc.subject สารลดแรงตึงผิว
dc.subject โมโนกลีเซอไรด์
dc.title Effects of salinity on microemulsion based monoglyceride oily soil detergency using an extended surfactant en_US
dc.title.alternative ผลของความเข้มข้นของเกลือภายใต้สภาวะไมโครอิมัลชั่นของการทำความสะอาดคราบน้ำมันโมโนกลีเซอไรด์โดยการใช้สารลดแรงตึงผิวแบบขยายโมเลกุล en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petrochemical Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Sumaeth.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.1990


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record