dc.contributor.advisor |
Sumaeth Chavadej |
|
dc.contributor.advisor |
Scamehorn, John F |
|
dc.contributor.author |
Kingkan Punta |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-08-30T07:44:11Z |
|
dc.date.available |
2021-08-30T07:44:11Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75305 |
|
dc.description |
Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015 |
en_US |
dc.description.abstract |
Soap scum is generated from long chain fatty acids of soap reacting with divalent cation, especially calcium and magnesium ion in natural hard water. It is precipitate on the surface of sink and bathtubs as a white stain. Soap scum can be removed by using an appropriate surfactant and a chelating agent. The purpose of this research was to investigate the equilibrium solubility of different soap scums from steric acid (S) or Lux commercial soap (CS) and water containing with pure Ca, pure Mg, mixed Ca and Mg at a molar ratio of Ca: Mg = 4:1 or natural hard water (NHW) with a high hardness in different solution systems: pure water pH 4, dimethyldodecylamine oxide/tetra sodium glutamate diacetate (DDAO/Na4GLDA), and dimethyldodecylamine oxide/disodium ethylene diamine tetra acetate (DDAO/ Na2EDTA) pH 11 were investigated at a constant temperature of 25 ℃. The results showed that soap scums synthesized from stearic acid in the Na2EDTA/DDAO and Na4GLDA/DDAO system seem to have lower equilibrium solubility than commercial soap scums. In addition, calcium commercial soap scum was higher equilibrium solubility than the magnesium commercial soap scum. The further study of dissolution rate showed that for both stearic acid and commercial soap in natural hard water is no significant different in the Na2EDTA/DDAO and Na4GLDA/DDAO system. |
|
dc.description.abstractalternative |
คราบสกปรกหรือคราบไคลสบู่เกิดจากโมเลกุลกรดไขมันของสบู่ทำปฏิกิริยากับไอออน บวกโลหะไดวาเลนต์โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แคลเซียมและแมกนีเซียมไอออน ซึ่งมีมากในน้ำกระด้างตามธรรมชาติ จึงเกิดเป็นคราบสีขาวขุ่นเกาะติดที่กระเบื้องหรือบริเวณพื้นที่อาบน้ำ โดยคราบไคล สบู่นี้สามารถกำจัดได้ด้วยการใช้สารลดแรงตึงผิวที่เหมาะสมกับสารคีแลนท์ วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้คือ การศึกษาค่าสมดุลการละลายของคราบไคลสบู่ที่สังเคราะห์ขึ้นจากกรดสเตียริก และสบู่ที่ผลิตเชิงอุตสาหกรรม ในสารละลายแคลเซียม, แมกนีเซียม, อัตราส่วนแคลเซียมต่อ แมกนีเซียม 4:1 และน้ำกระด้างตามธรรมชาติ ภายใต้สภาวะต่าง ๆ ได้แก่ น้ำบริสุทธิ์ ที่พีเอช 4, สารลดแรงตึงผิวไดเมธิลโดเดกซิลลามิน ออกไซด์กับสารคีแลนท์เทตตะโซเดียมกลูตาไดอะซิติก แอซิด (DDAO/Na4GLDA) และสารลดแรงตึงผิวไดเมธิลโดเดกซิลลามิน ออกไซด์กับสารคีแลนท์ ไดโซเดียมเอทิลีนไดเอมีนเตตระอะซิเตต (DDAO/Na2EDTA ) ที่พีเอช 11 และอุณหภูมิคงที่ 25 องศาเซลเซียส พบว่า ไคลสบู่สังเคราะห์จากกรดสเตียริกในระบบที่มีการใช้สารลดแรงตึงผิวไดเมธิคโดเดกซิลลามิน ออกไซด์ กับสารคีแลนท์เทตตะโซเดียมกลูตาไดอะซิติกแอซิด และสารลดแรงตึงผิวไดเมธิลโดเดกซิลลามิน ออกไซด์ กับสารคีแลนท์ไดโซเดียมเอทิลีนไดเอมีนเตตระอะซีเตต ให้ค่าสมดุลการละลายต่ำกว่าไคลสบู่สังเคราะห์จากสบู่ที่ผลิตในเชิงอุตสาหกรรม อีกทั้งคราบไคลสบู่แคลเซียมจากสบู่ที่ผลิตในเชิงอุตสาหกรรมยังละลายได้มากกว่าคราบไคลสบู่แมกนีเซียม จากสบู่ที่ผลิตในเชิงอุตสาหกรรม สำหรับการศึกษาอัตราการละลายของคราบไคลสบู่ พบว่า คราบ ไคลสบู่สังเคราะห์จากกรดสเตียริก และสบู่ที่ผลิตเชิงอุตสาหกรรมในน้ำกระด้างตามธรรมชาติ ไม่มีความแตกต่างกันในระบบที่มีการใช้สารลดแรงตึงผิวไดเมธิลโดเดกซิลลามิน ออกไซด์กับสารคีแลนท์เทตตะโซเดียมกลูตาไดอะซิติกแอซิด และสารลดแรงตึงผิวไดเมธิลโดเดกซิลลามิน ออกไซด์กับสารคีแลนท์ไดโซเดียมเอทิลีนไดเอมีนเตตระอะซีเตต |
|
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1434 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Stearic acid |
|
dc.subject |
Soap -- Manufacture |
|
dc.subject |
กรดสเตียริก |
|
dc.subject |
สบู่ -- การผลิต |
|
dc.title |
Dissolution of soap scums synthesized from stearic acid and commercial soap |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Petrochemical Technology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Sumaeth.C@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
No information provided |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2015.1434 |
|