DSpace Repository

Development of industrialized Ru/MCM-48 and Ru/HMOR-based catalysts for waste tire pyrolysis

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sirirat Jitkarnka
dc.contributor.advisor Sujitra Wongkasemjit
dc.contributor.author Chaiyaporn Witpathomwong
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-08-31T05:21:04Z
dc.date.available 2021-08-31T05:21:04Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75325
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en_US
dc.description.abstract The demands of light olefins are continuously increased because each of them is one of the Seven Sisters, which are the major raw materials of petrochemical industry. The light olefins can be produced by the oxidative dehydrogenation of alkane, the steam cracking of parafinic hydrocarbon, and the fluid catalytic cracking of heavy oils. This work developed an industrial catalyst of catalytic pyrolysis waste tire for producing light olefins. The industrial catalysts consisted of various combinations of (1) the active component, either Ru/MCM-48 or Ru/HMOR, (2) matrixes such as kaolin, bentonite, montmorillonite, or talcum, and (3) the binder (a- alumina). The study on Ru/MCM-48 based extrudates revealed that the combination; 15% of Ru/MCM-48, 75% of the matrix, and 10% of the binder, was the appropriate composition to produce the highest amount of light olefins. For Ru/HMOR based extrudates, the appropriate composition was 10% of Ru/HMOR, 80% of kaolin, and 10% of a-alumina. The particles of an active component usually generate heat which causes over-cracking. A matrix in the catalyst then helps to spread the heat from the active component in order to prevent over-cracking. In addition, the study of various types of matrix found that bentonite and talc were the best matrixes and heat dissipaters. They help improving the selectivity of light olefins in the gas product.
dc.description.abstractalternative ความต้องการของโอเลฟินส์เบาในปัจจุบันเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเพราะว่าเป็น 1 ใน 7 วัตถุดิบหลักของอุตสาหกรรมปิโตรเคมี งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาอุตสาหกรรม ในการไพโรไลซิสยางหมดสภาพเพื่อผลิตโอเลฟินส์เบา ตัวเร่งปฏิกิริยาสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม มักจะประกอบไปด้วย (1) ตัวว่องไว ซึ่งในงานวิจัยนี้ได้แก่ โลหะรูธีเนียมบนตัวรองรับสองชนิด คือ วัสดุรูที่มีพรุนขนาดกลางที่เรียกว่าเอ็มซีเอ็มสี่สิบแปดหรือมอร์ดีไนท์ซีโอไลท์ (2) ตัวเมทริกช์ ซึ่งได้แก่ ดินเกาลิน, ดินเบนโทไนท์, ดินมอนมอริลโลไนท์ และ ดินแทลคัม และ (3) ตัวประสาน ได้แก่ แอลฟาอลูมินา จากการศึกษาเพื่อหาส่วนประกอบที่เหมาะสมของตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะรูธีเนียมบนตัวรองรับวัสดุรูพรุนขนาดกลาง เอ็มซีเอ็มสี่สิบแปดพบว่า 15% ของรูธีเนียมบนวัสดุรูพรุนขนาดกลาง เอ็มซีเอ็มสี่สิบแปด, 75% ของตัวเมทริกซ์, และ 10% ของตัวประสาน เป็นส่วนผสมที่เหมาะสมในการผลิตโอเลฟินส์เบาได้มากที่สุด สำหรับโละหะรูธีเนียมบนตัวรองรับ มอร์ดีไนท์ซีโอไลน์ ส่วนประกอบที่เหมาะสมคือ 10% ของรูธีเนียมบนมอร์ดีไนท์ซีโอไลท์, 80% ของตัวเมทริกซ์, และ 10% ของตัวประสาน ตัวรองรับในตัวเร่งปฏิกิริยาจะช่วยกระจายความร้อน ที่เกิดขึ้นในปฏิกิริยาจากตัวว่องไว ทำให้ไม่เกิดจากแตกตัวต่อ และจากการศึกษาหาประเภทของตัวเมทริกซ์ที่เหมาะสมได้พบว่าดินเบนโทไนท์และดินแทลคัมเป็นตัวเมทริกซ์ที่เหมาะสมและที่สุด การที่มีตัวเมทริกซ์ที่เหมาะสมจะช่วยทำให้เพิ่มการเลือกสรรค์ต่อการเกิดโอเลฟินส์เบาในผลิตภัณฑ์แก๊ส
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Catalysts
dc.subject Ruthenium
dc.subject Pyrolysis
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยา
dc.subject รูทีเนียม
dc.subject การแยกสลายด้วยความร้อน
dc.title Development of industrialized Ru/MCM-48 and Ru/HMOR-based catalysts for waste tire pyrolysis en_US
dc.title.alternative การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยารูทีเนียมบนวัสดุรูพรุนขนาดกลางเอ็มซีเอ็มสี่สิบแปดและรูทิเนียมบนมอร์ดีไนท์ซีโอไลท์เพื่อการอุตสาหกรรมไพโรไรซิสยางหมดสภาพ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petrochemical Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor No information provided
dc.email.advisor dsujitra@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record