DSpace Repository

Research and development of novel Copolymers of PC/PLA

Show simple item record

dc.contributor.advisor Hathaikarn Manuspiya
dc.contributor.advisor Potejanee Sornthummalee
dc.contributor.author Suparinya Thissina
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-08-31T06:31:05Z
dc.date.available 2021-08-31T06:31:05Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75336
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract The impact strength and heat distortion temperature (HDT) of Polycarbonate (PC)/Polylactic acid (PLA) blends was developed by adding reactive compatibilizers. Polycarbonate (PC) is an engineering thermoplastic which has high impact strength and heat resistance. However, because of environmental concern. the consumption of bio-based polymer is rising up for recent years. PLA is a bio-based polymer with high strength. Blending PLA with PC is an efficient way due to accepted mechanical properties of PLA. PC/PLA blends were immiscible that caused in poor mechanical properties especially impact strength and HDT. In this study, Dibuthyltin oxide (DBTO), Poly(ethylene-co-acrylic acid) (EAA), Lysine triisocyanate (LTI), and Poly(styrene-g-glycidyI methacrylate)(PS-g-GMA) were used as the added compatibilizer to improve the impact strength and heat resistance of PC/PLA blends. All components were melt-mixed in a twin screw extruder by varying the types and content of the compatibilizers. Morphology and other properties such as physical, thermal and mechanical properties of blends were investigated. PC70PS-g-GMA0.5 is the best formulas because its HDT is high closed to neat PC. PC70PS-g-GMA0.5 has relatively high mechanical properties especially impact strength. Finally, Benchmarking of PC70PS-g-GMA0.5 with previous work and commercially available PC/PLA blend exhibit that PC70PS-g-GMA0.5 provided higher HDT than the commercially available product.
dc.description.abstractalternative ความทนทานต่อแรงกระแทกและอุณหภูมิการคงรูปทางความร้อนของพอลิเมอร์ผสมระหว่างพอลิคาร์บอเนตและพอลิแลคติก แอซิดได้รับการพัฒนาโดยการใส่ตัวเชื่อมประสานแบบเกิดปฏิกิริยาเข้าไป พอลิคาร์บอเนตเป็นเทอร์โมพลาสติกเชิงวิศวกรรมที่มีความทนทานต่อแรงกระแทกและความทนทานต่อความร้อนสูง อย่างไรก็ดีเนื่องจากความกังวลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมส่งผลให้ความต้องการของพอลิเมอร์ชีวภาพเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา ซึ่งพอลิแลคติก แอซิดเป็นหนึ่งในพอลิมอร์ชีวภาพที่มีข้อดีคือมีความทนทานการเปลี่ยนรูปสูง ดังนั้นการผสมระหว่างพอลิคาร์บอเนตและพอลิพอลิแลคติกถือเป็นทางเลือกที่ดีเนื่องจากพอลิแลคติกแอซิด มีคุณสมบัติเชิงกลที่ยอมรับได้ อย่างไรก็ดีพอลลิคาร์บอเนตและพอลิแลคติก แอซิดเข้ากันได้ไม่ดี ส่งผลให้สมบัติเชิงกลโดยเฉพาะความทนทานต่อแรงกระแทกและอุณหภูมิการคงรูปทางความ ร้อนของพอลิมอร์ผสมระหว่างพอลลิคาร์บอเนตและพอลิแลคติก แอซิดมีค่าลดลง การศึกษานี้ได้เลือกใส่ตัวเชื่อมประสานแบบเกิดปฏิกิริยาสี่ชนิดคือ ไดบิวทิลทิน ออกไซค์ พอลิเอทธิลีนโคอไครลิก แอซิด, ไลซีนไตรไอโซไซยาเนต และ พอลิสไตรีนกราฟไกลสิติว เมทธาไครเลต ลงไปในพอลิเมอร์ผสมเพื่อปรับปรุงความทนทานต่อแรงกระแทกและอุณหภูมิการคงรูปทางความร้อน พอลิเมอร์ทั้งสองชนิดและตัวเชื่อมประสารจะผสมกันโดยผ่านเครื่องทวินสกรูและผ่านการขึ้นรูปแบบฉีดได้ออกมาเป็นชิ้นงานเพื่อนำไปทดสอบคุณสมบัติต่าง ๆ ได้แก่ สัณฐานวิทยา, คุณสมบัติเชิงกายภาพ, คุณสมบัติเชิงกล, และ คุณสมบัติทางความร้อนอีกด้วย สูตรผสมที่เหมาะสมคือใส่พอลิสไตรีนกราฟไกลสิติว เมทธาไครเลต 0.5 ส่วนในร้อยส่วน ลงไปในพอลิเมอร์ผสมระหว่าง พอลิคาร์บอเนตและพอลิแลคติก แอซิด (70 ส่วนพอลิคาร์บอเนตต่อ 30 ส่วนพอลิแลคติก แอซิด) เนื่องจากสูตรผสมนี้มีอุณหภูมิการคงรูปทางความร้อนสูงใกล้เคียงกับพอลิคาร์บอเนตและมีคุณสมบัติเชิงกล โดยเฉพาะความทนทานต่อแรงกระแทกสูง สุดท้ายสูตรผสมนี้ถูกนำไปเทียบมาตราฐานกับสูตรผสมที่นำออกวางขายตามท้องตลาดพบว่า สูตรผสมนี้มีอุณหภูมิการคงรูปทางความร้อนสูงว่าสูตรผสมที่นำออกวางขายตามท้องตลาดและมีค่าความทนทานต่อแรงกระแทกใกล้เคียงกับสูตรผสมที่นำออกวางขายตามท้องตลาด
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2035
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Polylactic acid
dc.subject Copolymers
dc.subject กรดโพลิแล็กติก
dc.subject โพลิเมอร์ผสม
dc.title Research and development of novel Copolymers of PC/PLA en_US
dc.title.alternative การคิดค้นและพัฒนาโคพอลิเมอร์ชนิดใหม่ของพอลิคาร์บอเนตและ พอลิแลคติก แอซิต en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Polymer Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Hathaikarn.Ma@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.2035


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record