DSpace Repository

Development of wound dressing with enhanced wound healing properties: preparation of chitosan and silk sericin-incorporated bacterial cellulose

Show simple item record

dc.contributor.advisor Ratana Rujiravanit
dc.contributor.author Thus La-ongnuan
dc.date.accessioned 2021-08-31T08:42:01Z
dc.date.available 2021-08-31T08:42:01Z
dc.date.issued 2013
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75354
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013 en_US
dc.description.abstract Chitosan and silk sericin were incorporated into bacterial cellulose pellicles in order to develop a bacterial cellulose-based wound dressing having both antimicrobial and antioxidant activities. Bacterial cellulose pellicles were produced under a static culture condition. Due to its three-dimensional non-woven nanofibrilar network structure, bacterial cellulose can provide a moist environment, therefore, promoting the wound healing process. It is known that chitosan, a chitin derivative, is a polysaccharide with antimicrobial properties while, the water-soluble protein in raw silk fibers has antioxidant properties. By incorporation of chitosan and silk sericin into bacterial cellulose pellicles, a novel wound dressing with antimicrobial and antioxidant activities could be achieved. The effect of the amount of chitosan and silk sericin incorporated into bacterial cellulose pellicles on water vapor transmission rate, and antimicrobial and antioxidant activities were investigated. Moreover, the surface and cross-sectional morphologies of the chitosan and silk sericin-incorporated bacterial cellulose were examined by scanning electron microscope. The antimicrobial activities of the samples were tested against Escherichia coli and Staphylococcus aureus.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ วัสดุนาโนคอมพอสิทชีวภาพ (Bio-nanocomposite) สำหรับการใช้เป็นเวชภัณฑ์บำบัดแผลโดยมีองค์ประกอบหลักเป็นแบคทีเรียเซลลูโลส ไคโตซานและเซริชินถูกพัฒนาสำเร็จ โดยแบคทีเรียเซลลูโลสซึ่งสังเคราะห์จากแบคทีเรีย Acetobacter xylinum ในรูปของโครงสร้างสามมิติที่ไม่มีการถักทอ (3-Dimensional Non-woven Network ซึ่งใช้เป็นวัสดุรองรับสำหรับเป็นเวชภัณฑ์บำบัดแผล (Wound dressing matrix) ส่วนไคโตซานและเซริซินใช้เป็นสารออกฤทธิ์ (Active ingredient agent) ในการต้านเชื้อแบคทีเรียและต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่น ตามลำดับ จากผลการทดสอบด้วย FT-IR ของแบคทีเรียเซลลูโลสที่ประกอบด้วยไคโตซานและเซริซินแสดงพีคเอกลักษณ์ของทั้งสามองค์ประกอบ คือ แบคทีเรียเซลลูโลส ไคโตซาน และเซริซิน และผลภาพลักษณะสัณฐานจาก SEM แสดงให้เห็นว่าโมเลกุลของไคโตซานและเซริซินเข้าไปอยู่ในโครงสร้างที่เป็นรูพรุนของแบคทีเรียเซลลูโลสและกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ และปริมาณไนโตรเจนของไคโตซานและเซริซินในแบคทีเรียเซลลูโลสมีแนวโน้มเป็นไปตามสัดส่วนของไคโตซาน/เซริซิน ซึ่งไคโตซานและเซริซินสามารถต้านเชื้อแบคทีเรีย S. aureus และ E. coli และสามารถต้านการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นจากสารออกซิไดส์แรงสูง เช่น hydroxyl radical และ peroxyl radical ได้ในส่วนของอัตราการซึมผ่านของไอน้ำของแบคทีเรียเซลลูโลสที่ประกอบด้วยไคโตซานและเซริซินสามารถสร้างสภาวะชุ่มชื้นให้กับบาดแผลได้ โดยปริมาณการปลดปล่อยไคโตซานและเซริซินซึ่งทำหน้าที่เป็นสารต้านเชื้อแบคทีเรียและสารต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่นตามลำดับนั้น เป็นไปตามสัดส่วนของไคโตซานและเซริซิน ในทางตรงกันข้าม ไคโตซานและเซริซินที่ยังคงอยู่ในแบคทีเรียเซลลูโลสยังสามารถกระตุ้นการผลิตคอลลาเจนและสามารถสร้างสภาวะชุ่มชื้นให้กับบาดแผลได้อีกด้วย ในการเปรียบเทียบระหว่างไคโตซานทั้ง 2 ชนิดนั้น ไคโตซานมวลโมเลกุลต่ำแสดงผลการต้านเชื้อแบคทีเรียและการต้านปฏิกิริยาออกซิเดชั่นได้ดีกว่าไคโตซานมวลโมเลกุลสูง ในทางกลับกัน ไคโตซานมวลโมเลกุลสูงสามารถสร้างสภาวะชุ่มชื้นให้กับบาดแผลได้ดีกว่าไคโตซานมวลโมเลกุลต่ำ ดังนั้นแบคทีเรียเซลลูโลสที่ประกอบด้วยไคโตซานและเซริซินสามารถใช้เป็นเวชภัณฑ์บำบัดแผลที่แสดงคุณสมบัติเด่นขององค์ประกอบหลักทั้ง 3 ชนิด
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.2040
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Cellulose fibers
dc.subject Chitosan
dc.subject เส้นใยเซลลูโลส
dc.subject ไคโตแซน
dc.title Development of wound dressing with enhanced wound healing properties: preparation of chitosan and silk sericin-incorporated bacterial cellulose en_US
dc.title.alternative การพัฒนาแผ่นปิดแผลเพื่อเพิ่มคุณสมบัติการรักษาบาดแผล: การเตรียมแผ่นปิดแผลจากเส้นใยแบคทีเรียเซลลูโลส ไคโดซาน และเซริซิน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Polymer Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Ratana.R@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2013.2040


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record