DSpace Repository

Immobilization of mesoporous-assembled TiO₂ nanocrystal photocatalyst for degradation of Azo dye contaminant in wastewater

Show simple item record

dc.contributor.advisor Thammanoon Sreethawong
dc.contributor.advisor Sumaeth Chavadej
dc.contributor.author Pavita Kunwanlee
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-02T04:38:49Z
dc.date.available 2021-09-02T04:38:49Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75365
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en_US
dc.description.abstract Photo catalysis is an advanced oxidation process that efficiently degrades organic contaminants present in wastewater effluents. The suspension of TiO2 powders in wastewater during the photocatalytic treatment shows great photo activity, but it requires further troublesome filtering process to separate the photo catalyst from the treated wastewater. Therefore, utilization of TiO2 in an immobilized mode is more practical because it solves the problems of TiO2 separation and reuse as compared to a suspension mode. This work focused on the photocatalytic degradation of Acid Black (AB) diazo dye by using nanocrystal line mesoporous-assembled TiO2 photo catalyst immobilized on a glass plate, where the mesoporous-assembled TiO2 nanocrystal was synthesized by a sol-gel process with the aid of a structure-directing surfactant. Various preparation parameters during the immobilization step were investigated on the photocatalytic AB dye degradation performance. The experimental results showed that the mesoporous-assembled TiO2 film with 5 wt.% P-25 TiO2 addition and calcined at 400 ℃ provided the highest AB dye degradation rate constant of 0.23 h-1. Moreover, an increase in the number of coated TiO2 layers was found to enhance the photocatalytic activity until reaching the peel-off limitation at 4 layers.
dc.description.abstractalternative ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมเป็นกระบวนการออกซิเดชันที่มีประสิทธิภาพ สำหรับการย่อยสลายสารอินทรีย์ที่ปนเปื้อนในน้ำเสีย การใช้ผงไททาเนียแบบแขวนลอยในน้ำเสียระหว่าง ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมนั้นสามารถตอบสนองต่อความไวแสงได้ดี แต่จะก่อให้เกิดปัญหาใน กระบวนการแยกตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมจากน้ำเสียที่บำบัดแล้ว ดังนั้นการนำไททาเนียที่ตรึงบนตัวรองรับแล้วมาใช้จะมีความเหมาะสมมากกว่า เนื่องจากสามารถแก้ไขปัญหาของกระบวนการแยกไททาเนีย และสามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่ ในงานวิจัยนี้มุ่งเน้นศึกษา ความสามารถในการย่อยสลายสีย้อมประเภทไดเอโซชนิดแอซิดแบล็คของตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมไททาเนียที่มีโครงสร้างในลักษณะนาโนและมีรูพรุนในระดับเมโซพอร์ ซึ่งถูกตรึงบนแผ่นกระจกใส ในการทดลองนี้ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีโครงสร้างในลักษณะนาโนและมีรูพรุนในระดับ เมโซพอร์สังเคราะห์ขึ้นโดยกระบวนการโซล-เจลร่วมกับการใช้สารลดแรงตึงผิวเป็นตัวกำหนด โครงสร้าง โดยได้ทำการศึกษาตัวแปรต่าง ๆในขั้นตอนการตรึงตัวเร่งปฏิกิริยา เพื่อใช้ในปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมในการสลายตัวของสีย้อมแอซิดแบล็ค จากผลการทดลองพบว่าเมื่อใส่ตัวเร่ง ปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมไททาเนียเกรดทางการค้า พี-25 ปริมาณ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ลงบนฟิล์มตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนียที่มีโครงสร้างในลักษณะนาโนและมีรูพรุนในระดับเมโซพอร์ ซึ่งเผาที่อุณหภูมิ 400 องศาเซลเซียส ให้ผลในการย่อยสลายสีย้อมแอซิดแบล็คดีที่สุด โดยแสดงอัตราการฟอกสีที่ 0.23 ต่อชั่วโมง นอกจากนี้ยังพบว่า การเพิ่มจำนวนชั้นของฟิล์มตัวเร่งปฏิกิริยาไททาเนีย ช่วยทำให้เกิดปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมได้ดีขึ้นจนกระทั่งเพิ่มจำนวนชั้นไปถึงจุดที่ฟิล์มไททาเนีย เกิดการหลุดลอกออกซึ่งจำกัดอยู่ที่ 4 ชั้น
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Azo dyes
dc.subject Nanocrystals
dc.subject Porous materials
dc.subject Photocatalysis
dc.subject สีย้อมเอโซ
dc.subject ผลึกนาโน
dc.subject วัสดุรูพรุน
dc.subject การเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง
dc.title Immobilization of mesoporous-assembled TiO₂ nanocrystal photocatalyst for degradation of Azo dye contaminant in wastewater en_US
dc.title.alternative การสลายตัวของสีย้อมประเภทเอโซที่ปนเปื้อนในน้ำเสียโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาแบบใช้แสงร่วมไททาเนียที่มีโครงสร้างในลักษณะนาโนและมีรูพรุนในระดับเมโซพอร์ซึ่งถูกตรึงบนตัวรองรับ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petroleum Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Thammanoon.S@Chula.ac.th
dc.email.advisor Sumaeth.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record