DSpace Repository

Roles of carbon aerogels and catalysts on the hydrogen desorption behaviors of LiAlH₄

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pramoch Rangsunvigit
dc.contributor.advisor Boonyarach Kitiyanan
dc.contributor.advisor Thanyalak Chaisuwan
dc.contributor.advisor Santi Kulprathipanja
dc.contributor.author Phunsap Purasaka
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-02T04:46:38Z
dc.date.available 2021-09-02T04:46:38Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75366
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011 en_US
dc.description.abstract LiAlH4 was modified with carbon aerogels (CAs) and catalysts to improve their desorption behaviors and desorption temperatures. The mechanical ball milling was used to mix LiAlH4 with the CAs and catalysts. TPD and Thermo-volumetric apparatus were used to measure the desorption temperature and the amount of desorbed hydrogen. The amounts of CAs were varied from 5 to 15 wt%, while that of a catalyst including TiCl3, TiO2, Ti, and Ni was 5 wt%. The desorption processes were operated with a heating rate of 2 ℃/min from room temperature to 250 ℃. Mixing 15 wt% CAs with LiAlH4 decreased the desorption temperature to 115 ℃ from 145 ℃. while with 5 wt% CAs, the desorption temperature was still at 145 ℃. In contrast, the desorption behaviors of the hydride mixed with 15 wt% CAs did not improve, but adding 5 wt% CAs resulted in an improvement in the desorption behaviors. In addition, mixing with a catalyst decreased the desorption temperature and decreased the desorption behaviors of LiAlH4. The desorption temperatures of LiAlH4 co-mixed with 5 wt% CAs and 5 wt% catalysts also were improved in the second desorption step and their desorption behaviors were better than the sample with the catalysts. However, desorbed LiAlH4 cannot absorb hydrogen at 180 ℃ and 11 MPa hydrogen pressure.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยนี้ศึกษาผลของคาร์บอนแอโรเจลและตัวเร่งปฏิกิริยาต่อพฤติกรรมการคายและ อุณหภูมิที่ปลดปล่อยไฮโดรเจนของลิเธียมอลูมินัมไฮไดรต์ (LiAlH4)โดยใช้การบดเชิงกลในการผสมลิเธียมอลูมินัมไฮไดรด์กับคาร์บอนแอโรเจลและตัวเร่งปฏิกิริยา และใช้เครื่องวัดปริมาตร- อุณหภูมิและโปรแกรมอุณหภูมิการคายในการหาปริมาณไฮโดรเจนและอุณหภูมิที่คายของลิเธียมอลูมินัมไฮไดรด์ ปริมาณคาร์บอนแอโรเจลที่ใช้อยู่ในช่วงจาก 5 ถึง 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก ขณะที่ตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้ได้แก่ โลหะไททาเนียม (Ti) ไททาเนียมไดออกใซต์ (TiO2) ไททาเนียมไตรคลอไรต์ (TiCl3) และโลหะนิเกิล (Ni) อยู่ที่ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก อุณหภูมิที่ใช้ในการทดลองเริ่มจากอุณหภูมิห้องถึง 250 องศาเซลเซียส ด้วยอัตราการเพิ่มของอุณหภูมิ 2 องศาเซลเซียส ต่อนาที จากการทดลองพบว่า การผสมคาร์บอนแอโรเจล 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก สามารถลดอุณหภูมิในการคายไฮโดรเจนจาก 145 องศาเซลเซียส เป็น 115 องศาเซลเซียสขณะที่การผสม คาร์บอนแอโรเจล 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักไม่เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิดังกล่าว ขณะเดียวกันลิเธียมอลูมินัมไฮไดรต์ที่ผสมคาร์บอนแอโรเจล 15 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักไม่ได้ปรับปรุงพฤติกรรมการ คายไฮโดรเจน แต่การผสมคาร์บอนแอโรเจล 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักปรับปรุงพฤติกรรมการคายไฮโดรเจน เช่นเดียวกันกับการผสมตัวเร่งปฏิกิริยา 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักมีผลในการลดอุณหภูมิ และเปลี่ยนพฤติกรรมในการคายไฮโดรเจนของลิเธียมอลูมินัมไฮไดรต์ ขณะที่การผสมทั้งคาร์บอน แอโรเจลและตัวเร่งปฏิกิริยาปรับปรุงอุณหภูมิในการคายไฮโดรเจนขั้นที่ 2 และเปลี่ยนพฤติกรรม ของการคายไฮโดรเจนของลิเธียมอลูมิเนียมไฮไดรต์ อย่างไรก็ตามลิเธียมอลูมินัมไฮไดรต์ที่คาย ไฮโดรเจนแล้วไม่สามารถการดูดซับไฮโดรเจนที่ความดัน 11 เมกะปาสคาล และอุณหภูมิ 180 องศาเซลเซียส
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Aerogels
dc.subject Lithium hydride
dc.subject Hydrogen
dc.subject ลิเธียมไฮไดรด์
dc.subject ไฮโดรเจน
dc.title Roles of carbon aerogels and catalysts on the hydrogen desorption behaviors of LiAlH₄ en_US
dc.title.alternative ผลของคาร์บอนแอโรเจลและตัวเร่งปฏิกิริยาต่อพฤติกรรมการคายไฮโดรเจนของลิเธียมอลูมินัมไฮไดรด์ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petroleum Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Pramoch.R@Chula.ac.th
dc.email.advisor Boonyarach.K@Chula.ac.th
dc.email.advisor Thanyalak.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record