dc.contributor.advisor |
Sumaeth Chavadej |
|
dc.contributor.author |
Satita Sotananan |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-15T02:58:13Z |
|
dc.date.available |
2021-09-15T02:58:13Z |
|
dc.date.issued |
2014 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75494 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 |
en_US |
dc.description.abstract |
In this research work, ethylene oxide production performance under a low- temperature parallel plate dielectric barrier discharge (DBD) system with two dielectric glass plates and the upper glass plate coated with 0.1 wt.% Ag catalyst calcined at different temperatures was investigated. Under optimum conditions (an applied voltage of 19 kV, an input frequency of 500 Hz, a total feed flow rate of 50 cm3/min, a gap distance of 0.7 cm, and a N2O:C2H4 feed molar ratio of 0.17:1), the highest EO selectivity of 48.9% and the highest EO yield of 8.6% were achieved at a calcination temperature of 550 °C. The use of N2O as oxygen source provided comparatively better ethylene epoxidation performance than O2 |
|
dc.description.abstractalternative |
ในงานวิจัยนี้ ปฏิกิริยาอิพ็อกซิเดชันของเอทิลีนได้ถูกสำรวจภายใต้ระบบพลาสมาอุณหภูมิต่ำชนิดไดอิเล็กทริกแบร์ริเออดิสชาร์จพร้อมทั้งการเคลือบบนผิวตัวรองรับแผ่นกระจกด้านบนด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดซิลเวอร์ในปริมาณร้อยละ 0.1 โดยน้ำหนัก ภายใต้สภาวะที่เหมาะสมที่สุด(ความต่างศักย์ไฟฟ้า 19 กิโลโวลต์ ความถี่ไฟฟ้า 500 เฮิรต์ซ อัตราการไหลของสารตั้งต้น 50 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อนาทีระยะทางของช่องว่างเท่ากับ 0.7 เซนติเมตรและอัตราส่วนโดยโมลของก๊าซไนตรัสออกไซด์ต่อเอทิลีน 0.17.1) การเลือกเกิดของเอทิลีนออกไซด์มีค่ามากที่สุดเป็น 48.9 เปอร์เซ็นต์และค่าปริมาณผลได้สูงสุดของเอทิลีนออกไซด์เป็น 8.6 เปอร์เซ็นต์เกิดขึ้นเมื่อใช้อุณหภูมิในการเผาไหม้ให้เป็นเถ้าที่ 550 องศาเซลเซียส และนอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบผลของการใช้แหล่งกำเนิดออกซิเจนที่แตกต่างกันแล้วนั้นพบว่า ภายใต้ภาวะที่เหมาะสมของมันเอง การใช้ก๊าซไนตรัสออกไซด์เป็นแหล่งกำเนิดก๊าซออกซิเจนก่อให้เกิดประสิทธิภาพของปฏิกิริยาอิพ็อกซิเดชันของเอทิลีนได้ดีกว่าการใช้ก๊าซออกซิเจน |
|
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1553 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Catalysts |
|
dc.subject |
Ethylene |
|
dc.subject |
Combustion |
|
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยา |
|
dc.subject |
เอทิลีน |
|
dc.subject |
การเผาไหม้ |
|
dc.title |
Ethylene epoxidation in a low-temperature parallel plate dielectric barrier discharge system with two dielectric layers of Ag catalyst : effects of calcination temperature and operating conditions |
en_US |
dc.title.alternative |
ปฏิกิริยาอิพ็อกซิเดชันของเอทิลีนภายใต้ระบบพลาสมาอุณหภูมิต่ำชนิดไออิเล็กทริกแบร์ริเออดิสชาร์จโดยใช้แผนไดอิเล็กทริกสองแผ่นและตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดซิลเวอร์ : ผลของอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาไหม้ให้เป็นเถ้าและภาวะที่ใช้ในการดำเนินการ |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Petrochemical Technology |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Sumaeth.C@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2014.1553 |
|