DSpace Repository

Influence of blend compositions of poly(caprolactone)/poly(3-hydroxybutyrate-co-3-hydroxyvalerate) films on protein adsorption

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pitt Supaphol
dc.contributor.author Ruethaipat Sirisinha
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-15T05:19:37Z
dc.date.available 2021-09-15T05:19:37Z
dc.date.issued 2012
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75513
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 en_US
dc.description.abstract Solution casting of polycaprolactone (PCL) and poly(3-hydroxybutyrate-co-2-hydroxyvalerate) (PHBV) in various ratios with coated and uncoated bioactive proteins were studied for potential use as bone scaffolds. The crystallinity evaluation of these solution-cast film scaffolds indicated that the miscibility behavior which decreased as PHBV content increased, resulted in increased protein adsorption. The potential for these fiber mats as bone scaffolds was further assessed in vitro in terms of the attachment and proliferation of mouse-calvaria-derived preosteoblastic cells (MC3T3-E1) that were seeded or cultured at different times. All of the coated scaffolds exhibited much better support for cell attachment and proliferation than the uncoated bioactive proteins. Among the various coated scaffolds investigated, the PCL/50PHBV blend showed the highest cellular attachment and proliferation. These results imply a high potential for these cast film mats as bone scaffolds.
dc.description.abstractalternative โครงเลี้ยงเซลล์กระดูก (Scaffold) จากวัสดุที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพมีความสำคัญในกระบวนการวิศวกรรมเนื้อเยื่อ โดยทำหน้าที่เป็นโครงที่ให้เซลล์มายึดเกาะและเจริญเติบโต ซึ่งในการยึดเกาะดังกล่าวต้องอาศัยปฏิสัมพันธ์ระหว่างโปรตีนที่ถูกดูบซับอยู่บนพื้นผิวของโครงสร้าง เลี้ยงกระดูกและเซลล์ งานวิจัยนี้ทำการศึกษาโครงเลี้ยงเซลล์จากพอลิเมอร์ชนิดพอลิคาโปรแลคโตน (PCL) และพอลิไฮดรอกซีบิวทิวริกเรดโคไฮดรอกซีวาริเรด(PHBV) ซึ่งเป็นวัสดุสังเคราะห์ จำพวกพอลิเอสเตอร์ที่มีความเข้ากันได้กับร่างกายและย่อยสลายทางชีวภาพ โดยการศึกษา เปรียบเทียบองค์ประกอบของการผสมผสาน (Blending) ด้วยวิธีการหล่อแบบสารละลาย (Solution Casting) จากการศึกษาพบว่าการพอลิเมอร์ผสมดังกล่าวมีความไม่เข้ากันจึงทำให้ปริมาณผลึกลดลง ในทางกลับกันการดูดซับโปรตีนเพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณพอลิไฮดรอกซีบิวทิวริกเรดโคไฮดรอกซีวาริเรดเพิ่มขึ้น เมื่อนำมาทดสอบความสามารถในการเป็นวัสดุโครงร่างสำหรับกระดูก โดยใช้เซลล์กระดูกของหนู (MC3T3-E1) จากการทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์โดยวิธีอ้อม พบว่า แผ่นฟิล์มทุกชนิดไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ สำหรับการทดสอบความเข้ากันได้ต่อเซลล์พบว่า เซลล์สามารถเกาะและแบ่งตัวได้ดีกว่าบนผิวโครงเลี้ยงเซลล์ที่มีโปรตีนติดอยู่บนพื้นผิวเมื่อเทียบกับโครงเลี้ยงเซลล์ที่ไม่มีโปรตีนติดอยู่ และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างผิวโครงเลี้ยงเซลล์ที่มีโปรตีนติดอยู่บนพื้นผิวพบว่าเซลล์พบว่าเซลล์สามารถเกาะและแบ่งตัวได้ดีที่สุดบนแผ่นฟิล์มผสมผสานที่มีนิดพอลิคาโปรแลคโตนและพอลิไฮดรอกซีบิวทิวริกเรดโคไฮดรอกซีวาริเรดผสมอยู่ใน อัตราส่วนร้อยละ 50
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Polycaprolactone
dc.subject Proteins
dc.subject Tissue scaffolds
dc.subject โปรตีน
dc.subject เนื้อเยื่อสังเคราะห์
dc.title Influence of blend compositions of poly(caprolactone)/poly(3-hydroxybutyrate-co-3-hydroxyvalerate) films on protein adsorption en_US
dc.title.alternative การศึกษาเชิงเปรียบเทียบองค์ประกอบของการผสมผสานระหว่างพอลิคาโปรแลคโตนและพอลิไฮดรอกซีบิวทิวริกแอซิดโคไฮดรอกซีวาลิริกแอซิดของแผ่นฟิล์มต่อการดูดซับของโปรตีน en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Polymer Science en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Pitt.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record