DSpace Repository

Comparative study of methane adsorption on metal organic frameworks and activated carbons

Show simple item record

dc.contributor.advisor Boonyarach Kitiyanan
dc.contributor.advisor Pramoch Rangsunvigit
dc.contributor.advisor Santi Kulprathipanja
dc.contributor.author Narumol Kumpoomee
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-17T06:15:13Z
dc.date.available 2021-09-17T06:15:13Z
dc.date.issued 2012
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75566
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012 en_US
dc.description.abstract The use of compressed natural gas (CNG) for vehicles has grown considerably in Thailand. Unfortunately, the energy density of CNG is approximately one-third of gasoline, hence, more CNG is needed in order to travel the same distance when compared to gasoline at the same size of vessel container to increase the storage capacity of CNG, the use of adsorbents that can well adsorb natural gas is suggested. The purpose of this study is to compare methane adsorption capacity on Metal Organic Frameworks (MOFs); Basolite C300 and Basolite Z1200; and activated carbons derived from coconut shell, eucalyptus and coal. The volumetric adsorption apparatus was used to determine the amount of methane adsorption. Methane was pressurized up to 900 psia, and the temperature was set at 303, 308, and 313 K. The adsorbents were also characterized for physical properties. The results show that the gravimetric amount of methane adsorption is highest when using Basolite C300, followed by Baolite Z1200, Eucalyptus Powder Activated Carbon, Coconut Shell Granular Activated Carbon, Calgon, and Coconut Powder Activated Carbon. The experimental data were best fitted by Sips isotherm model.
dc.description.abstractalternative ในปัจจุบันนี้ยานพาหนะที่ใช้ก๊าซธรรมชาติอัดเป็นเชื้อเพลิงมีการใช้งานเพิ่มขึ้นอย่าง แพร่หลายในประเทศไทย แต่ถึงอย่างไรก็ตามข้อเสียของก๊าซธรรมชาติอัด ก็คือค่าความหนาแน่น ของพลังงานในระบบของก๊าซธรรมชาติอัดนั้นมีค่าเพียง1ใน3ของเชื้อเพลิงชนิดน้ำมันเบนซิน ดังนั้น ในถังเชื้อเพลิงขนาดเท่ากัน รถที่ใช้พลังงานก๊าซธรรมชาติอัดจึงต้องการปริมาณก๊าซ ธรรมชาติอัดเพิ่มขึ้นเพื่อที่จะขับเคลื่อนรถให้วิ่งได้ในระยะที่เท่ากันกับรถที่ใช้น้ำมันเบนซินเป็นเชื้อเพลิง การเติมตัวดูดซับลงในถังเพื่อเพิ่มปริมาณการดูดซับของก๊าซธรรมชาติอัดในถังบรรจุก๊าซ เป็นวิธีที่ได้รับการแนะนํา ในการทดลองนี้ใช้ตัวดูดซับ 2 ประเภท คือ สารประกอบเชิงซ้อนชนิดโลหะอินทรีย์ ได้แก่ บาสโอไลท์ ซี300และบาสโอไลท์ แซท1200 และถ่านกัมมันต์ ที่ผลิตมาจาก เปลือกมะพร้าว, ยูคาลิปตัส และถ่านหิน ปริมาณมีเทนที่ถูกดูดซับจะหาได้จากเครื่องมือเชิงปริมาตร ณ อุณหภูมิ 303, 308, 313 เคลวิน และความดันสูงถึง 900 ปอนด์ฟอสต่อตารางนิ้ว ตัวถูกดูดซับจะถูกทดสอบสมบัติทางกายภาพ จากผลการทดลองพบว่าบาสโอไลท์ ซี300 มีความสามารถ ในการดูดซับก๊าซมีเทนเชิงปริมาณมากที่สุดตามด้วย บาสโอไลท์ แซท1200, ถ่านกัมมันต์ที่ผลิต จากต้นยูคาลิปตัส, เม็ดถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกมะพร้าว, เม็ดถ่านกัมมันต์จากอุสาหกรรม ผลิตจากถ่านหิน (แคลกอน) และ ผงถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากเปลือกมะพร้าว อีกทั้งยังพบว่าข้อมูลที่ได้จากทดลองมีค่าพอดีกันกับข้อมูลที่ได้จากแบบจำลองไอโซเทอมของซิป
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Methane -- Absorption and adsorption
dc.subject Organometallic compounds
dc.subject Carbon, Activated
dc.subject มีเทน -- การดูดซึมและการดูดซับ
dc.subject สารประกอบโลหะอินทรีย์
dc.subject คาร์บอนกัมมันต์
dc.title Comparative study of methane adsorption on metal organic frameworks and activated carbons en_US
dc.title.alternative การเปรียบเทียบการศึกษาการดูดซับก๊าซมีเทนระหว่างสารประกอบโลหะเชิงซ้อนชนิดโลหะอินทรีย์และถ่านกัมมันต์ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petroleum Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Boonyarach.K@Chula.ac.th
dc.email.advisor Pramoch.R@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record