DSpace Repository

The inhibitory effects of anthocyanin-rich Thai berry extracts on carbohydrate digestion, glycation and adipogenesis

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sathaporn Ngamukote
dc.contributor.author Pattamaporn Aksornchu
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences
dc.date.accessioned 2021-09-21T04:24:55Z
dc.date.available 2021-09-21T04:24:55Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75619
dc.description Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2020
dc.description.abstract Several studies have reported the benefits of anthocyanin-rich berries on improving human health. However, the effect of Thai berries on delaying carbohydrate digestion, antioxidant properties, glycation inhibition, and anti-adipogenesis have not been investigated. Therefore, the present study aimed to determine the potential of anthocyanin-rich Thai berry extracts from Antidesma bunius or Mamao (ABE), Lepisanthes rubiginosa or Mahuat (LRE) and Syzygium nervosum or Makiang (SNE) on the inhibition of carbohydrate digestive enzymes, the antioxidant activity, anti-glycation, and anti-adipogenic property. In this study, total phenolics, total anthocyanins, and cyanidin-3-glucoside (C3G) contents of the anthocyanin-rich Thai berry extracts were 237.90-300.91 mg GAE/ g extract, 32.45-66.86  mg C3G/ g extract, and 27.19-39.96 mg/ g extract, respectively. Besides, ABE and LRE also contained delphinidin-3-glucoside with values of 21.65 and 0.93 mg/ g extract, respectively. All extracts demonstrated inhibitory activity against intestinal maltase and sucrase with IC50 values of 0.79 -1.52 mg extract/ml and 1.34-1.65 mg extract/ ml, respectively. It was found that ABE exhibited better antioxidant properties than LRE and SNE. Therefore, ABE was further investigated on the antiglycation and antiadipogenic properties. It was found that ABE (0.25 mg/ml) significantly reduced the formation of fluorescence and non-fluorescence AGEs (NƐ-carboxymethyl lysine, NƐ-CML) in fructose and glucose-mediated protein glycation. ABE prevented protein oxidation by reducing the protein carbonyl content and inhibiting protein aggregation by decreasing the β-amyloid cross structure formation. Furthermore, ABE (16 µg/ml) prevented 3T3-L1 cell differentiation. It reduced the intracellular triglyceride accumulation by the inhibition of adipogenic transcription factor expression, C/EBPα. Pparγ receptor contributed to reducing the mRNA expression of acetyl-CoA carboxylase (ACC), fatty acid synthase (FASN), and lipoprotein lipase (LPL). These findings suggested that Thai berry extract in this study, especially ABE, can be useful as a promising natural compound for delaying carbohydrate digestion, decreasing the monosaccharide-induced protein glycation and oxidative protein damage, protein aggregation, and preventing adipogenesis.
dc.description.abstractalternative การศึกษาในอดีตพบว่าเบอร์รี่ที่มีสารแอนโทไซยานินสูงมีส่วนช่วยในการส่งเสริมสุขภาพร่างกายให้ดีขึ้นอย่างไรก็ตามยังไม่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์แสดงถึงฤทธิ์ของเบอร์รี่ไทยต่อการชะลอการดูดซึมน้ำตาล การต้านอนุมูลอิสระ ต้านการเกิดไกลเคชั่น และการยับยั้งการสร้างและสะสมไขมันในเซลล์ไขมัน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารแอนโทไซยานินในเบอร์รี่ไทย ได้แก่ มะเม่า (Antidesma bunius) มะหวด (Lepisanthes rubiginosa) และมะเกี๋ยง (Syzygium nervosum) ต่อการยับยั้งการย่อยและการดูดซึมน้ำตาลและไขมัน การต้านอนุมูลอิสระ การยับยั้งการเกิดไกลเคชั่น และการยับยั้งการสร้างและสะสมไขมันในเซลล์ไขมัน จากการศึกษาพบว่า ปริมาณโดยรวมของสารประกอบฟีโนลิค และแอนโทไซยานิน ของสารสกัดที่จากเบอร์รี่พบว่า สารสกัดจากเบอร์รี่ไทยทั้ง 3 ชนิด มีปริมาณรวมของสารประกอบฟีโนลิค เทียบเท่ากับ 237.90-300.91 มิลลิกรัมของกรดแกลลิคต่อกรัมของผงสารสกัดและมีปริมาณแอนโทไซยานินรวมเท่ากับ 32.45-66.86  มิลลิกรัมของไซยานิดิน-3-กลูโคไซด์ต่อกรัมของผงสารสกัด และมีปริมาณไซยานิดิน-3-กลูโคไซด์อยู่ในช่วง 27.19-39.96 มิลลิกรัมต่อกรัมของผงสารสกัด นอกจากนี้สารสกัดจากมะเม่าและมะหวดมีปริมาณเดลฟินิดิน-3-กลูโคไซด์เท่ากับ 21.65 และ 0.93 มิลลิกรัมต่อกรัมของผงสารสกัดตามลำดับนอกจากนี้ยังพบว่าสารสกัดดังกล่าวมีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์มอลเตสและซูเครส โดยมีค่า IC50 อยู่ในช่วงความเข้มข้น 0.79-1.52 มิลลิกรัมของสารสกัดต่อมิลลิลิตรและ 1.34-1.65 มิลลิกรัมของสารสกัดต่อมิลลิลิตรตามลำดับ สารสกัดจากมะเม่ามีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระสูงกว่ามะหวดและมะเกี๋ยง สารสกัดจากมะเม่าจึงถูกนำมาศึกษาความสามารถในการต้านการเกิดไกลเคชั่นของโปรตีนจากการเหนี่ยวนำด้วยน้ำตาล ฟรุคโตสและกลูโคสพบว่า สารสกัดจากมะเม่า (ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร) ลดการเกิดผลิตภัณฑ์สุดท้ายของปฏิกิริยาไกลเคชั่น โดยลดผลิตภัณฑ์ฟลูออเรสเซนต์และไม่ใช่ฟลูออเรสเซนต์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ อีกทั้งยังสามารถป้องกันการเกิดโปรตีนออกซิเดชัน โดยลดระดับของการเกิดโปรตีนคาร์บอนิล (protein carbonyl) ยับยั้งการตกตะกอนของโปรตีนโดยลดระดับของการสร้างโครงสร้างเบต้าอะไมลอยด์ (β-amyloid structure) นอกจากนั้นสารสกัดจากมะเม่าที่ความเข้มข้น 16 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรป้องกันการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ 3T3-L1 และลดการสะสมไตรกลีเซอไรด์ภายในเซลล์ โดยการยับยั้งการแสดงออกของ mRNA ของ adipogenic transcriptional factors C/EBPα และ PPARγ receptor ซึ่งสำคัญต่อกระบวนการสร้างเซลล์ไขมัน และลดการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างไขมันได้แก่ Acetyl CoA carboxylase (ACC) Fatty acid synthase (FASN) และ Lipoprotein lipase (LPL) จึงอาจสรุปได้ว่าสารสกัดเบอร์รี่ไทย โดยเฉพาะมะเม่าอาจนำมาพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดีต่อสู่สุขภาพเพื่อช่วยชะลอการย่อยคาร์โบไฮเดรต ลดการเกิดไกลเคชั่นที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ลดการเกิดออกซิเดชั่นและลด การเกาะกลุ่มของโปรตีน รวมถึงยับยั้งการสะสมไขมันในเซลล์ไขมันได้
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.214
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Anthocyanins
dc.subject Antioxidants
dc.subject Carbohydrates -- Metabolism
dc.subject แอนโทไซยานินส์
dc.subject แอนติออกซิแดนท์
dc.subject คาร์โบไฮเดรต -- การเผาผลาญ
dc.subject.classification Agricultural and Biological Sciences
dc.title The inhibitory effects of anthocyanin-rich Thai berry extracts on carbohydrate digestion, glycation and adipogenesis
dc.title.alternative ฤทธิ์ของสารสกัดผลไม้ไทยกลุ่มเบอร์รี่ที่มีแอนโธไซยานินสูงต่อการยับยั้งการย่อยคาร์โบไฮเดรต กระบวนการไกลเคชั่น และการสร้างเซลล์ไขมัน
dc.type Thesis
dc.degree.name Doctor of Philosophy
dc.degree.level Doctoral Degree
dc.degree.discipline Food and Nutrition
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2020.214


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record