dc.contributor.advisor |
Surasak Taneepanichskul |
|
dc.contributor.author |
Suwadee Puntpanich |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. College of Public Health Sciences |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T04:26:45Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T04:26:45Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75637 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2019 |
|
dc.description.abstract |
Background/ Objectives: Non-communicable disease has become public health concern and is associated with an unhealthy lifestyle and ageing. This present study was conducted to explore the effectiveness of “CHICKEN LOF”: M-health application on lipid profile and body composition among dyslipidemia healthcare workers of Phuket City Hospital, Thailand. Subjects/ Methods: This study was a randomized controlled trail with 4 serial measurements and it was conducted among full time dyslipidemia healthcare workers from “Phuket Care Project”, a 10, 000 bed hospital via home visitation in Phuket City Hospital, Thailand. A total of 80 participants participated and they were randomly assigned by a computer generator into either an intervention group or control group. The intervention group received “CHICKEN LOF”: M-Health Application and usual care, and the control group received only usual care. Outcomes were measured on day 30, 60 and 90 compared to baseline. Results: There were 40 participants (M11/F29) with the mean age of 33.9 years in the intervention group and 40 participants (M7/F33) with the mean age of 33.2 years in control group. All of the baseline characteristics were not statistically of significant difference. Significant changes were observed in intervention group on total knowledge (p=0.000), total attitude (p=0.001), total practice (p=0.000), HDL-C (p=0.002), weight (p=0.000), BMI (p=0.001), body fat percentage (p=0.029), bone mass (p=0.030), BMR (p=0.032) and total body water (p=0.027). In pairwise comparison, significant increase of knowledge, attitude and practice was found from the baseline to at day 30, 60 and 90 respectively. Conclusion: As healthy lifestyle has become important issue for personal health which can result many changes in daily life of every person, it is needed to aware and practice the healthy lifestyle measures. The findings of this present study concluded the objectives of the study that M-Health intervention: CHICKEN LOF created by combination of 3 communication theories for motivation change: expectancy theory, behavior change communication theory and Persuasion and reinforcement theory is effective on improving knowledge, attitude and practice on lipid profile and body composition modifying score including improving in blood lipid profile and body composition. Being the use of technology in conducting health promotion and education especially using mobile phone, board game application like this CHICKEN LOF will be attractive to users not only the awareness but also the change of self-management and self-monitoring for their daily healthy lifestyle. |
|
dc.description.abstractalternative |
ความเป็นมา : โรคไม่ติดต่อ (NCD) เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่มีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต และสภาพแวดล้อมที่ไม่ดีต่อสุขภาพ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของชิคเก้น ลอฟ (ลดไขมันใน 90 วัน) ที่มีผลต่อระดับไขมันในเส้นเลือดและสัดส่วนในกลุ่มเจ้าหน้าที่สายงานสุขภาพที่มีระดับไขมันในเส้นเลือดผิดปกติ
วิธีการวิจัย : การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมดำเนินการในกลุ่มเจ้าหน้าที่สุขภาพภาวะไขมันในเลือด ซึ่งปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา โรงพยาบาลองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต จำนวน 80 คน โดยได้รับการสุ่ม เป็นกลุ่มทดลองหรือกลุ่มควบคุม โดยกลุ่มทดลองได้รับแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ ชิคเก้น ลอฟ และการดูแลตามปกติ กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติจากโรงพยาบาลโดยมีการวัดผลในวันเริ่มต้น วันที่ 30, 60 และ 90
ผลการศึกษา : ผู้เข้าร่วมการวิจัยกลุ่มทดลอง จำนวน 40 คน (ชาย 11/หญิง 29) มีอายุเฉลี่ย 33.9 ปี กลุ่มควบคุม จำนวน 40 คน (ชาย 7/หญิง 23) มีอายุเฉลี่ย 33.2 ปี ในการเก็บข้อมูลครั้งแรกทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน โดยพบว่ามีกลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงที่มีระดับนัยยะสำคัญเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมในการเปลี่ยนแปลงความรู้โดยรวม (p value<0.001) ทัศนคติโดยรวม (p value<0.001) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยรวม (p value<0.001) HDL-C (p value=0.002) น้ำหนักตัว (p value<0.001), BMI (p value=0.001), ระดับร้อยละของไขมันในร่างกาย (p value=0.029), มวลกระดูก (p value=0.030), BMR (p value=0.032) และระดับน้ำในร่างกาย (p value=0.027) ทั้งนี้เมื่อเทียบการเปลี่ยนแปลงในตนเองของกลุ่มทดลองในวันที่ 30 60 และ 90 เทียบกันวันแรก พบว่า มีการพัฒนาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในการเปลี่ยนแปลงความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม ขณะที่กลุ่มควบคุมไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ : วิถีชีวิตและสุขภาวะที่ดีส่งผลต่อสุขภาพและการเปลี่ยนแปลงของร่างกายโดยตรง ทุกคนจึงจำเป็นต้องตระหนักและฝึกฝนการดำเนินชีวิตที่มีสุขภาพดี ผลการศึกษาครั้งนี้สรุปวัตถุประสงค์ของการศึกษาว่าแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ ชิคเก้น ลอฟ (ลดไขมันใน 90 วัน) ที่พัฒนาขึ้นจากทฤษฎีการสื่อสารสำหรับการสร้างแรงจูงใจในการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ทฤษฎีความคาดหวังทฤษฎีการเปลี่ยนพฤติกรรมการสื่อสารและทฤษฎีการโน้มน้าวใจและการเสริมแรง มีผลต่อความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม เกี่ยวกับการดูแลตนเองเพื่อสุขภาพไขมันที่ดีขึ้น รวมถึงส่งผลต่อการพัฒนาของระดับไขมันในเส้นเลือดและสัดส่วนของร่างกาย การใช้เทคโนโลยีในการส่งเสริมสุขภาพและการศึกษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้แอพพลิเคชันเพื่อสุขภาพจะสร้างแรงจูงใจผู้ใช้งานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตัวเองเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.471 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Self-care, Health |
|
dc.subject |
Mobile apps |
|
dc.subject |
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง |
|
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
|
dc.subject |
ไขมันในเลือด |
|
dc.subject.classification |
Medicine |
|
dc.subject.other |
Blood lipids |
|
dc.title |
Effect of chicken lof (low fat in 90 days): m-health application on lipid profile and body composition among dyslipedemia healthcare workers: a randomized controlled trial |
|
dc.title.alternative |
ประสิทธิผลของแอปพลิเคชันด้านสุขภาพ ชิคเก้น ลอฟ (ลดไขมันใน 90 วัน) ในโทรศัพท์เคลื่อนที่ที่มีผลต่อระดับไขมันในเส้นเลือดและสัดส่วนของร่างกายในกลุ่มเจ้าหน้าที่สายงานสุขภาพที่มีระดับไขมันในเส้นเลือดผิดปกติ: การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Public Health |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.471 |
|