dc.contributor.advisor |
Prim Auychai |
|
dc.contributor.advisor |
Arunee Laiteerapong |
|
dc.contributor.advisor |
Duangporn Duangthip |
|
dc.contributor.author |
Manarin Boonyawong |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T05:17:06Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T05:17:06Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75842 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2019 |
|
dc.description.abstract |
Objective: The purpose of this study was to compare clinical success of a novel material (silver diamine fluoride incorporated with high-viscosity glass ionomer cement (SDF-GIC)) in Class II restoration in primary molars using atraumatic restorative treatment (ART) technique at 6- and 12- month follow-up.
Materials and Methods: A randomized controlled clinical trial using a parallel group design was carried out on 150 children aged 3-8 years old, from 5 public school in Samut Sakhon province, Thailand, with at least one class II cavities. They were randomly allocated to two treatment groups: ART restoration using either GIC (Fuji IX GP) or SDF-HVGIC (Fuji IX GP + Saforide). A total of 150 restorations were placed in vital primary molars by a pediatric dentist (HVGIC= 75, SDF-HVGIC= 75) and were evaluated by one calibrated examiner, blinded to the type of material and not involved in the placement after 6 and 12 months. Results: The overall clinical success (95 percent confidence interval) at the 6-month follow-up for the GIC and SDF-GIC were 73.3 percent (61.9-82.9) and 62.76 percent (50.7-73.6), respectively. At 12-month follow-up, the clinical success for SDF-GIC and GIC were 61.3 percent (49.4-72.4) and 58.7 percent (46.7-69.9), respectively. However, no significant difference was detected in clinical success between the study groups for both follow-up periods (Chi’s square, p=0.161 for 6-month and p=0.739 for 12-month).
Conclusion: Class II ART restorations with the novel material (SDF-GIC) showed similar clinical success rate after 6 and 12 months compared to those with GIC. |
|
dc.description.abstractalternative |
วัตถุประสงค์ การศึกษานี้มีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาหาอัตราความสำเร็จของการบูรณะฟันกรามน้ำนม ทีมีรอยผุชนิดคลาสทู ด้วยเทคนิค Atraumatic Restorative Treatment (ART) ด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดความหนืดสูง (High-Viscosity Glass Ionomer Cement; GIC) และ กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดความหนืดสูงที่มีส่วนผสมของสารซิลเวอร์ไดเอมีนฟลูออไรด์ (Silver Diamine Fluoride; SDF-GIC) ที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน
วัสดุอุปกรณ์และวิธีการทดลอง การศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม โดยคัดเลือกประชาการอายุ 3 ถึง 8 ปี จำนวน 150 คนทีมีฟันผุด้านประชิดตามเกณฑ์การคัดเข้า และสุ่มซี่ฟันเข้ากลุ่มควบคุม ( Fuji IX GP ) หรือ กลุ่มทดลอง SDF-GIC (Fuji IX GP+ Saforide) โดยทันตแพทย์สำหรับเด็กทำการบูรณะฟันกรามน้ำนมคลาสทู และทันตแพทย์ทันตกรรมบูรณะเป็นผู้ตรวจประเมินคุณภาพวัสดุที่ระยะเวลาติดตามผล 6 และ 12 เดือน โดยใช้สถิติทดสอบไคสแควร์ในการเปรียบเทียบอัตราความสำเร็จทางคลินิกระหว่างวัสดุอุด 2 ชนิด ผลการศึกษา ณ เวลาการติดตามผล 6 เดือน พบว่า อัตราความสำเร็จทางคลินิกของการบูรณะฟันกรามน้ำนมชนิดคลาสทูด้วยวัสดุ SDF-GIC และ GIC เท่ากับร้อยละ 62.7 (ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 50.7-73.6) และ ร้อยละ 73.3 (ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 61.9-82.9) ตามลำดับ โดยไม่พบความแตกต่างของอัตราความสำเร็จของวัสดุบรณะทั้ง 2 ชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p=0.16) และเมื่อติดตามผลที่ระยะเวลา 12 เดือน อัตราความสำเร็จทางคลินิกของของการบูรณะฟันกรามน้ำนมชนิดคลาสทูด้วยวัสดุ SDF-GIC และ GIC เท่ากับร้อยละ 61.3 (ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 49.4-72.4) และ ร้อยละ 58.7 (ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ 46.7-69.9) ตามลำดับ โดยไม่พบความแตกต่างของอัตราความสำเร็จของวัสดุบรณะทั้ง 2 ชนิดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเช่นเดียวกัน (p=0.739)
สรุป การบูรณะฟันกรามน้ำนมที่มีรอยผุชนิดคลาสทูด้วยเทคนิค Atraumatic Restorative Treatment (ART) ด้วย วัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดความหนืดสูง (High-Viscosity Glass Ionomer Cement; GIC) และ กลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ชนิดความหนืดสูงที่มีส่วนผสมของสารซิลเวอร์ไดอะมีนฟลูออไรด์ (Silver Diamine Fluoride; SDF-GIC) มีอัตราความสำเร็จที่ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อติดตามผลที่ระยะเวลา 6 และ 12 เดือน |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.384 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject.classification |
Dentistry |
|
dc.subject.classification |
Dentistry |
|
dc.subject.classification |
Dentistry |
|
dc.title |
Clinical evaluation of two glass ionomer cement restorations placed in primary molars with atraumatic restorative treatment technique: a randomized controlled trial. |
|
dc.title.alternative |
การศึกษาทางคลินิกของการบูรณะฟันน้ำนมด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ 2 ชนิด ด้วยเทคนิค Atraumatic Restorative Treatment: การศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Master of Science |
|
dc.degree.level |
Master's Degree |
|
dc.degree.discipline |
Pediatric Dentistry |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2019.384 |
|