DSpace Repository

อิทธิพลของทัศนคติต่อจุดดึงดูดใจของโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม การรับรู้ความเสี่ยง และการตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม ต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดของผู้บริโภค

Show simple item record

dc.contributor.advisor วรวรรณ องค์ครุฑรักษา
dc.contributor.author ภคินี ลาภเจริญ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-09-21T06:12:13Z
dc.date.available 2021-09-21T06:12:13Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76102
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
dc.description.abstract การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับทัศนคติต่อจุดดึงดูดของการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม การรับรู้ความเสี่ยงด้านการเงิน ด้านประสิทธิภาพ และด้านจิตวิทยา และความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดของผู้บริโภค โดยใช้วิธีวิจัยวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้การเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างบุคคลทั่วไปโดยไม่จำกัดเพศ ที่มีอายุระหว่าง 25-50 ปี ที่มีแนวโน้มจะซื้อรถยนต์ในอนาคต โดยใช้เครื่องมือวิจัยคือแบบสอบถามออนไลน์ จำนวนทั้งสิ้น 404 ตัวอย่าง โดยผลการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า 1) กลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติต่อจุดดึงดูดด้านเหตุผลและด้านอารมณ์ของการโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อมของรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยจุดดึงดูดด้านเหตุผล สามารถดึงดูดผู้บริโภคได้มากกว่าจุดดึงดูดด้านอารมณ์ 2) กลุ่มตัวอย่างมีระดับการรับรู้ความเสี่ยงด้านการเงิน ด้านประสิทธิภาพ และด้านจิตวิทยาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ และมีความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อมในระดับสูง โดยทุกตัวแปรมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริด 3) ความตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม ทัศนคติต่อจุดดึงดูดด้านเหตุผล และการรับรู้ความเสี่ยงด้านการเงิน คือ 3 ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อมากที่สุดตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง (R = 0.665) และมีอิทธิพลต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดของผู้บริโภคอยู่ที่ร้อยละ 44.2
dc.description.abstractalternative The purpose of this study was aimed to study the influence of attitudes on advertising appeals (Rational and Emotional), perceived financial risk, performance risk, psychology risk, and the awareness of environmental issues that affect consumers' intention to buy plug-in hybrid vehicles. This study was survey research collected data via a questionnaire from 404 samples who aged between 25 to 50 years old and intend to own a car in the future. The results of the research can be summarized as follows: 1) The sample group had attitudes toward the rational and emotional attraction points of environmental advertising of plug-in hybrid vehicles significantly different by rational attraction can attract consumers more than emotional attraction 2) The sample group had a level of perception of financial risks, performance and the psychological aspect is significantly different and has a high level of awareness of environmental issues, all variables influence the purchase intention of plug-in hybrid vehicles. 3) The awareness of environmental issues, attitude toward rational attraction, and perceived financial risk were the 3 variables that had the greatest influence on consumer's purchase intention, respectively. It was statistically significant at 0.05, with a moderate correlation (R = 0.665) and influence on plug-in hybrid vehicle purchase intention at 44.2 percent.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.797
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject ความเต็มใจจ่าย
dc.subject รถยนต์ไฮบริด
dc.subject การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม
dc.subject การตลาดเพื่อสิ่งแวดล้อม
dc.subject Willingness to pay
dc.subject Hybrid electric cars
dc.subject Green marketing
dc.subject.classification Business
dc.subject.classification Social Sciences
dc.subject.classification Economics
dc.title อิทธิพลของทัศนคติต่อจุดดึงดูดใจของโฆษณาเพื่อสิ่งแวดล้อม การรับรู้ความเสี่ยง และการตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม ต่อความตั้งใจซื้อรถยนต์ปลั๊กอินไฮบริดของผู้บริโภค
dc.title.alternative Influences of attitudes on environmental advertising appeals, perceived risk and environmental awareness on consumers' purchase intention of plug-in hybrid car
dc.type Thesis
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline นิเทศศาสตร์
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2020.797


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record