dc.contributor.advisor |
Paweena Susantitaphong |
|
dc.contributor.advisor |
Asada Leelahavanichkul |
|
dc.contributor.author |
Kullaya Takkavatakarn |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Medicine |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T06:28:46Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T06:28:46Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76302 |
|
dc.description |
Thesis (Ph.D.)--Chulalongkorn University, 2020 |
|
dc.description.abstract |
Background: P-cresyl sulfate and indoxyl sulfate are strongly associated with cardiovascular events, and all-cause mortality in chronic kidney disease (CKD). This study was conducted to compare the effects between sevelamer and calcium carbonate on protein-bound uremic toxins in pre-dialysis CKD patients with hyperphosphatemia.
Methods: After 2 weeks of the run-in period, 40 pre-dialysis CKD patients with persistent hyperphosphatemia were randomly assigned to receive either daily 2,400 mg of sevelamer or 1,500 mg of calcium carbonate for 24 weeks. Serum p-cresyl sulfate, indoxyl sulfate, fibroblast growth factor 23 (FGF23), lipid profiles, and high sensitivity C-reactive protein (hs-CRP) were evaluated. The primary endpoint was to evaluate the effect of sevelamer on p-cresyl sulfate level.
Results: After 24 weeks, a significant decrease of serum p-cresyl sulfate was observed in sevelamer compared with calcium carbonate therapy (mean difference -5.61 mg/L; 95% CI -11.01 to -0.27 mg/L; p=0.04). Sevelamer had obvious effects in lowering FGF23 (p= 0.007) and LDL-cholesterol levels (p<0.001) but did not affect serum indoxyl sulfate and hs-CRP levels.
Conclusions: Sevelamer could effectively reduce serum p-cresyl sulfate, FGF23 levels, and improve lipid profiles in pre-dialysis CKD patients with hyperphosphatemia. Our data suggest the additional benefits of sevelamer over calcium-based phosphate binder in cardiovascular protection. |
|
dc.description.abstractalternative |
ที่มาของปัญหางานวิจัย พีครีซิลซัลเฟตและอินดอกซินซัลเฟตมีความสัมพันธ์กับโรคหัวใจและหลอดเลือดและอัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังอย่างมาก การศึกษานี้เป็นการศึกษาแรกที่เปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาเซวาเลเมอร์และแคลเซียมคาร์บอเนตต่อการลดระดับพีครีซิลซัลเฟตและอินดอกซิลซัลเฟตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีระดับฟอสเฟตในเลือดสูง
ระเบียบวิธีการวิจัย ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 40 ราย จะได้รับการแบ่งกลุ่มโดยการสุ่ม เพื่อรับยาจับฟอสเฟตเป็นเซวาเลเมอร์ 2,400 มิลลิกรัมหรือแคลเซียมคาร์บอเนต 1,500 มิลลิกรัม เป็นเวลา 24 สัปดาห์ มีการตรวจวัดระดับของพีครีซิลซัลเฟต อินดอกซิลซัลเฟต ไฟโบรบลาสต์โกรธแฟกเตอร์ 23 คลอเลสเตอรอล และซี-รีแอกทีฟโปรตีน ที่เวลาตั้งต้น 12 และ 24 สัปดาห์ โดยมีผลลัพธ์หลักคือการเปลี่ยนแปลงของระดับพีครีซอล
ผลการศึกษา หลังการรักษา 24 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่ได้รับยาเซวาเลเมอร์มีการลดลงของระดับพีครีซิลซัลเฟตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับผู้ป่วยที่ได้รับแคลเซียมคาร์บอเนต (ค่าเฉลี่ยของความแตกต่าง -5.61 มิลลิกรัม/ลิตร; ช่วงความเชื่อมั่นร้อยละ 95 เท่ากับ -11.01 ถึง -0.27 มิลลิกรัม/ลิตร; p=0.04) และมีการลดลงของระดับไฟโบรบลาสต์โกรทแฟคเพอร์ 23 และแอลดีแอลคลอเลสเตอรอลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่ได้รับแคลเซียมคาร์บอเนต ไม่พบการเปลี่ยนแปลงของระดับอินดอกซิลซัลเฟตและซี-รีแอกทีฟโปรตีน การทำงานของไตและความแข็งของหลอดเลือดแดงในผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม
สรุป ยาเซเวลาเมอร์สามารถลดระดับของพีครีซิลซัลเฟต ไฟโบรบลาสต์โกรทแฟคเพอร์ 23 และระดับคลอเลสเตอรอล ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่มีระดับฟอสเฟตในเลือดสูง ทำให้ยาเซเวลาเมอร์อาจเป็นการรักษาที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังได้ |
|
dc.language.iso |
en |
|
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.329 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
|
dc.subject |
Chronic renal failure -- Patients |
|
dc.subject |
Hyperphosphatemia |
|
dc.subject |
ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย |
|
dc.subject |
ฟอสฟอรัสในเลือดสูง |
|
dc.subject.classification |
Medicine |
|
dc.title |
Protein-bound Uremic Toxins Lowering Effect of Sevelamer in Pre-dialysis Chronic Kidney Disease Patients with Hyperphosphatemia: A Randomized Controlled Trial |
|
dc.title.alternative |
การศึกษาประสิทธิภาพของยาเซวาเลเมอร์ต่อการลดลงของสารพิษยูรีเมียที่จับกับโปรตีนในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่มีระดับฟอสเฟตในเลือดสูง |
|
dc.type |
Thesis |
|
dc.degree.name |
Doctor of Philosophy |
|
dc.degree.level |
Doctoral Degree |
|
dc.degree.discipline |
Medicine |
|
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.THE.2020.329 |
|