dc.contributor.advisor |
ปกรณ์ ศิริประกอบ |
|
dc.contributor.author |
สุพิชชา สิมาพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T06:36:22Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T06:36:22Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76471 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาการเข้าถึงการสมัครงานผ่านแบบฟอร์มสมัครงานออนไลน์ : กรณีศึกษา ความเห็นต่อแอปพลิเคชั่นการสมัครงานออนไลน์ของบริษัททรานคอสมอส ไทยแลนด์ จำกัด โดยกำหนดรูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อสอบถามความคิดเห็นจากกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งหมด 180 คน ในรูปแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลด้วยโปรแกรม SPSS ซึ่งวิธีการทางสถิติที่ผู้วิจัยหยิบมาใช้ได้แก่ วิธีการเชิงพรรณนา เช่น ค่าสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย วิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยกำหนดค่าระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่าความพึงพอใจด้านข้อมูลที่ประชาสัมพันธ์มีความเพียงพอไม่แตกต่างกันเมื่อแยกตามช่องทางการทราบข่าวสมัครงานออนไลน์ ความพึงพอใจด้านข้อมูลภาษาที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์เข้าใจได้ง่ายไม่แตกต่างกันเมื่อแยกตามช่องทางการทราบข่าวสมัครงานออนไลน์ และความพึงพอใจด้านข้อมูลที่ใช้ในประชาสัมพันธ์มีความน่าเชื่อถือไม่แตกต่างกันเมื่อแยกตามช่องทางการทราบข่าวสมัครงานออนไลน์ ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 |
|
dc.description.abstractalternative |
This research's objective is to study problems accessing job application through online application form by using quantitative research method. Case study: Comments on access to Online Application Transcosmos Thailand Co., Ltd. The researcher collected data by gathering comments from 180 people who are candidates and employees using Purposive Sampling. The researchers analyzed and processed the data obtained with SPSS program by using descriptive statistics including Percentage, Mean, Standard Deviation by determining a statistical significance at the level of 0.05.
The hypothesis testing results represented that the satisfaction of an adequate information for job advertisement does not have any differences when separated into online advertising channels. The satisfaction of proper advertising language does not have any differences when separated into online advertising channels. The satisfaction of trustworthy information does not have any differences when separated into online advertising channels with a statistical significance at the level of 0.05. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.401 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
การหางาน |
|
dc.subject |
การสมัครงาน รูปแบบ |
|
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์บนเว็บ |
|
dc.subject |
Job hunting |
|
dc.subject |
Applications for positions Styles |
|
dc.subject |
Web applications |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.title |
ความคิดเห็นต่อแอปพลิเคชั่นการสมัครงานออนไลน์: กรณีศึกษา บริษัท ทรานคอสมอส ไทยแลนด์ จำกัด. |
|
dc.title.alternative |
Opinions regarding online job application form: a case study of Transcosmos Thailand co. Ltd. |
|
dc.type |
Independent Study |
|
dc.degree.name |
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
รัฐประศาสนศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.IS.2020.401 |
|