dc.contributor.advisor |
สุธรรมา นิติเกษตรสุนทร |
|
dc.contributor.author |
เสฏฐ์ศุภณัฐ รัศมิทัต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T06:36:24Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T06:36:24Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76473 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (รป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาการสื่อสารภายในองค์กรที่มีต่อการรับรู้ค่านิยมองค์กร กรณีศึกษา : บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อศึกษาการรับรู้ค่านิยมองค์กรของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. เพื่อศึกษาคุณลักษณะปัจจัยส่วนบุคคลของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีผลต่อการรับรู้ค่านิยมองค์กร 3. เพื่อศึกษาการสื่อสารภายในองค์กรที่มีผลต่อการรับรู้ค่านิยมองค์กร ของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. ใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการพัฒนาการสื่อสารภายในองค์กรและ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาให้เกิดขึ้นแก่องค์กร ตามเป้าหมายที่องค์กรตั้งไว้เพื่อนำไปสู่การเป็นองค์กรที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน ผลการศึกษา พบว่า ระดับการรับรู้ค่านิยมองค์กร ของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอยู่ในระดับมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามสมมติฐานที่กำหนดไว้ และเมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า การรับรู้ค่านิยมองค์กรของบุคลากร คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ด้านความภาคภูมิใจในองค์กร และด้านองค์กรที่เป็นเลิศ อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนด้านองค์กรแห่งนวัตกรรมการเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ ด้านความพร้อมที่จะรับการเปลี่ยนแปลง ด้านการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ด้านการธำรงไว้ซึ่งคุณธรรมจริยธรรม และด้านการทำงานร่วมกันเป็นทีม อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ในส่วนของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีคุณลักษณะส่วนบุคคลแตกต่างกันมีการรับรู้ค่านิยมองค์กรที่ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามสมมติฐาน และเมื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารภายในองค์กรกับการรับรู้ค่านิยมองค์กร พบว่า การสื่อสารภายในองค์กรมีผลต่อการรับรู้ค่านิยมองค์กรของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 เป็นไปตามสมมติฐาน โดยอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน |
|
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research are 1) to study the employee perception towards organizational values of the Faculty of Medicine, Chulalongkorn University, 2) to study characters of employees which impact their perception towards organizational values, 3) to study internal communication which impacts employee perception towards organizational values and 4) to make a recommendation for developing internal communication and building trust within the organization.
Research found that the employee perception towards organizational values is at a high level with a statistical significance of 0.05, as hypothesized. The employee perception towards organizational values is at the highest level for Dignity (D) and Excellence (E)., whereas Innovation (I), Adaptability to Change (+), Continuous Improvement (C), Social Responsibility (S), Morality (M) and Unity (U) are at high levels. It was also found that in the relation between internal communication and perception towards organizational values, internal communication has an impact on the employee perception towards organizational values with a significance of 0.05, as hypothesized. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.384 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
การสื่อสารระหว่างบุคคล |
|
dc.subject |
จริยธรรมในการทำงาน |
|
dc.subject |
Interpersonal communication |
|
dc.subject |
Work ethic |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.title |
การศึกษาการสื่อสารภายในองค์กรที่มีต่อการรับรู้ค่านิยมองค์กรกรณีศึกษา : บุคลากรคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.title.alternative |
The impact of internal communication on employee perception towards organizational values: a case study of Faculty of Medicine, Chulalongkorn University |
|
dc.type |
Independent Study |
|
dc.degree.name |
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
รัฐประศาสนศาสตร์ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.IS.2020.384 |
|