dc.contributor.advisor |
ณัฐนันท์ คุณมาศ |
|
dc.contributor.author |
อนัญญา กิติศรี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-21T06:36:26Z |
|
dc.date.available |
2021-09-21T06:36:26Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76475 |
|
dc.description |
สารนิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563 |
|
dc.description.abstract |
สารนิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาบทบาทของอาเซียนในการผลักดันให้เกิดการลงนามในข้อตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) ภายใต้แนวคิดความเป็นแกนกลางของอาเซียน จากการที่อาเซียนเป็นผู้นำในภูมิภาคในการประสานความร่วมมือกับประเทศมหาอำนาจภายนอกภูมิภาคผ่านกลไกต่างๆ ที่มีอาเซียนเป็นแกนนำ โดยอาเซียนมีสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ TAC ซึ่งเป็นหลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาคกับคู่เจรจานอกภูมิภาค เพื่อให้คู่เจรจาฯ ยอมรับหลักการที่อาเซียนเป็นผู้กำหนด ก่อนดำเนินความร่วมมือใดๆ รวมถึงในการประชุมหารือภายใต้กรอบความร่วมมือที่อาเซียนเป็นผู้ริเริ่ม อาเซียนมีบทบาทในการกำหนดวาระการประชุม การเป็นประธานการประชุม ซึ่งจะดำเนินการโดยประเทศที่เป็นสมาชิกอาเซียนเท่านั้น โดยข้อตกลง RCEP เป็นหนึ่งในกลไกสำคัญต่อการรักษาความเป็นแกนกลางของอาเซียน ในการเป็นกรอบความร่วมมือที่อาเซียนมีบทบาทนำต่อการริเริ่มและผลักดันให้เกิดการเจรจาหารือ จากการที่อาเซียนได้พัฒนาไปสู่ประชาคมอาเซียน ข้อตกลงนี้จึงมีส่วนสำคัญต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในการเป็นกลไกขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศนอกกลุ่มอาเซียน และขับเคลื่อนให้อาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเศรษฐกิจ |
|
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to examine ASEAN’s Centrality principle and its role in strengthening ASEAN leverage in pushing forward the signing of Regional Comprehensive Economic Partnership Agreement, or RCEP. ASEAN Centrality principle and ASEAN activities during RCEP negotiation were focus of this research question while documentary research was used for data analysis. The findings pointed out that ASEAN Centrality principle was the key to ASEAN’s achievement in leading with dialogue partners through the Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (TAC), the ASEAN-led mechanisms, which has given ASEAN’s advantage in setting the dialogue agendas and maintaining the chairmanship during RCEP development. On the other hand, it could be concluded that RCEP was one of important mechanisms in defending ASEAN Centrality, as the agreement allowed ASEAN to perform a central role among dialogue partners. Besides, the agreement contributed to ASEAN’s goal in expanding economic opportunities outside the association, as well as ensuring ASEAN’s leading role in regional economic integration and development. |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.277 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.subject |
สมาคมอาเซียน |
|
dc.subject |
กลุ่มประเทศอาเซียน |
|
dc.subject |
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ -- ความร่วมมือระหว่างประเทศ |
|
dc.subject |
ASEAN |
|
dc.subject |
ASEAN countries |
|
dc.subject |
Southeast Asia -- International cooperation |
|
dc.subject.classification |
Social Sciences |
|
dc.title |
บทบาทของอาเซียนในการผลักดันให้เกิดการลงนาม
ในข้อตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจระดับภูมิภาค |
|
dc.title.alternative |
Asean’s roles in the signing of
regional comprehensive economic partnership agreement |
|
dc.type |
Independent Study |
|
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
|
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
dc.identifier.DOI |
10.58837/CHULA.IS.2020.277 |
|