DSpace Repository

การใช้พลังงานและแนวคิดการออกแบบอาคารที่พักฉุกเฉินแบบถอดประกอบได้

Show simple item record

dc.contributor.advisor สมพงษ์ พุทธิวิสุทธิศักดิ์
dc.contributor.author สรรชัย แสงตัน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-09-21T06:45:48Z
dc.date.available 2021-09-21T06:45:48Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76541
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
dc.description.abstract ความต้องการการใช้พลังงานในกรณีที่เกิดภัยพิบัติ เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้ประสบภัยพิบัติในพื้นที่ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความต้องการการใช้พลังงานเฉลี่ย/คน/วัน ของผู้ประสบภัยพิบัติ โดยทำการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องและออกแบบอาคารที่พักอาศัยสำเร็จรูปซึ่งติดตั้งระบบเซลล์แสงอาทิตย์โดยสามารถผลิตพลังงานเพื่อรองรับผู้ประสบภัยพิบัติ 60 คน วัสดุที่ใช้ในระบบประกอบอาคารเป็นวัสดุที่มีค่าการนำความร้อนต่ำและใช้พัดลมในการระบายอากาศ ผลการวิจัยพบว่า ปริมาณการใช้พลังงานต่อวันประมาณ 150 kWh เฉลี่ยการใช้พลังงาน 2.5 kWh/คน/วัน วัสดุประกอบอาคารใช้โฟมโพลียูรีเทนซึ่งมีค่าการนำความร้อนต่ำที่สุด คือ 0.024 W/m.K เมื่อเทียบกับวัสดุฉนวนชนิดอื่นๆ ใช้พัดลมขนาด 22 นิ้วในการระบายอากาศซึ่งมีอัตราการระบายอากาศในพื้นที่พักอาศัยชั่วคราว หรือ ห้องนอน 38,382 cfm และอัตราการระบายอากาศในห้องรับประทานอาหาร 102,353 cfm ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน ASHRAE 62.1
dc.description.abstractalternative Energy utilization in the event of disaster is an important factor that directly impacts the victims in the area. As a result, this research aims to assess the needs of the average power usage/person/day of disaster victims. Reliable design of residential solar systems, which can generate power to accommodate 60 people, is made. Building compartment is ventilated by 22-inch-diameter fans and constructed with low thermal conductivity materials (polyurethane with k = 0.024 W/m.K). It is found that the energy consumption per day is approximately 150 kWh with an average per person of 2.5 kWh. The air ventilation in residential areas or temporary bedroom is 38,382 cfm, and the rate of ventilation in dining room is 102,353 cfm which is in compliance with ASHRAE standard 62.1.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.119
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject อาคาร -- การต่อเติม -- การออกแบบและการสร้าง
dc.subject การผลิตพลังงานไฟฟ้าและความร้อนร่วม
dc.subject แบตเตอรี่พลังงานแสงอาทิตย์
dc.subject เซลล์แสงอาทิตย์
dc.subject Buildings -- Additions -- Design and construction
dc.subject Cogeneration of electric power and heat
dc.subject Solar batteries
dc.subject Solar cells
dc.subject.classification Energy
dc.title การใช้พลังงานและแนวคิดการออกแบบอาคารที่พักฉุกเฉินแบบถอดประกอบได้
dc.title.alternative Energy consumption and concept design for emergency flat-pack building
dc.type Independent Study
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2020.119


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record