DSpace Repository

ระบบประเมินประสิทธิภาพการใช้ผู้ทรงอิทธิพลออนไลน์ในการสื่อสารการตลาด 

Show simple item record

dc.contributor.advisor ธาตรี ใต้ฟ้าพูล
dc.contributor.advisor สุกรี สินธุภิญโญ
dc.contributor.author พิทยุตม์ ภัทราวุฒิกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2021-09-21T06:48:36Z
dc.date.available 2021-09-21T06:48:36Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76613
dc.description สารนิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
dc.description.abstract การตลาดเชิงอิทธิพลออนไลน์ เป็นการตลาดที่ได้นำมาใช้ในการสื่อสารให้กับกลุ่มผู้บริโภค เนื่องด้วยการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมของผู้บริโภค แต่การใช้งานอินฟลูเอนเซอร์ยังมีความเสี่ยง ที่อินฟลูเอนเซอร์ยังไม่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ผู้วิจัยจึงได้ทำการศึกษางานวิจัยนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาหาตัวแปรที่ใช้ในการพิจารณาถึงประสิทธิภาพของอินฟลูเอนเซอร์ 2. การใช้ประเภทของอินฟลูเอนเซอร์ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับการประเมินและตัดสินใจประสิทธิภาพ 3. เพื่อหาเกณฑ์ต่าง ๆ ในการใช้ประเมินอินฟลูเอนเซอร์ โดยงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ และ เชิงปริมาณ และมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการประเมินผู้มีอิทธิพลบนโซเชียลมีเดีย เพื่อทำความเข้าใจถึงปัญหาในการประเมิน และประเด็นที่น่าสนใจ จนสามารถนำมาพัฒนาเป็นระบบการประเมินได้ โดยการประเมินอินฟลูเอนเซอร์ ผ่านตัวแปรประเภท ความตระหนัก เอ็นเกจเมนต์ และ คอนเวอร์ชั่น ทั้งนี้มีการหาค่าเฉลี่ย เอ็นเกจเมนต์ จากทั้งหมด 6,000 โพสต์ ที่อ้างอิงจากประเภทของอินฟลูเอนเซอร์ทั้งหมด 5 ประเภท ตามจำนวนผู้ติดตาม ผลการวิจัยทำให้เห็นการประเมินสามารถนำมาใช้พิจารณา และช่วยแก้ปัญหาในการประเมิน ที่ยังขาดความชัดเจนในการระบุถึงประสิทธิภาพของผู้มีอิทธิพลบนโซเชียลมีเดีย  ในด้าน การมีส่วนร่วม ของแต่ละประเภทและแต่ละแพลตฟอร์ม
dc.description.abstractalternative Influencer marketing is recently emerged due to the shift of consumer behavior. However, there is still a doubt of effectiveness of influencer performance which derived unsatisfied results. Hence, the author aims to conduct this research study with the following objectives. 1. To study important factors which are employed to consider influencer performance. 2. To apply data from different types of influencer to evaluate effectiveness and performance of influencer marketing. 3. To find the criteria to evaluate influencer. This research consists of both qualitative and quantitative researches. The qualitative research involves experts in influencer evaluation. This intends to explore the views and interested issues and to develop the evaluation criteria including Awareness, Engagement and Conversion. The evaluation is implemented by the average value of engagement from total 6,000 posts which are chosen by types based on the number of follower. The result of this study concludes that the evaluation can be applied to consider and improve the limitations of the influencer evaluation which finds the difficulty to clarify the effectiveness of in terms of engagement among various types of influencer and platforms. 
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2020.309
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject การส่งเสริมการขาย
dc.subject การตลาด
dc.subject Sales promotion
dc.subject Marketing
dc.subject.classification Social Sciences
dc.title ระบบประเมินประสิทธิภาพการใช้ผู้ทรงอิทธิพลออนไลน์ในการสื่อสารการตลาด 
dc.title.alternative Performance evaluation system of influencer marketing
dc.type Independent Study
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline ธุรกิจเทคโนโลยีและการจัดการนวัตกรรม
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.IS.2020.309


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Grad - Independent Studies [269]
    สารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 เป็นต้นไป

Show simple item record