DSpace Repository

Process improvement of housing loan product in Thailand commercial bank

Show simple item record

dc.contributor.advisor Jeerapat Ngaoprasertwong
dc.contributor.author Araya Santitrakulvech
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
dc.date.accessioned 2021-09-22T23:29:10Z
dc.date.available 2021-09-22T23:29:10Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77134
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2019
dc.description.abstract According to digital disruption has become key factor that stimulates changing in business nowadays including banking business. To respond through rapid change in customer behavior and become competitive among rivals, this research is aimed to improve business process of housing loan product in one of commercial banks in Thailand which is mainly operated in manual operation and paper process and believed to be main symptoms of bottleneck in lending process.  The main objective of this research is to reduce lead time of housing loan business by going through the detail of business process to reveal wastes or non-value-added activities using appropriate lean tools and find possible solution to assess for improvement. By approach of lean tool known as Value Stream Mapping that being used as a key tool in research methodology, it revealed that majority of wastes were from long waiting time and long query time causing from unneccesary tasks and noncontinuous of traditional process. Therefore, possible solution from lean concept including method of simplifying and streamling of process and standardization were considered. In addition, gathering with the concept of digital transformation in banking industry which were also revealed as the final solution in the form of new system implementation that was conducted in the studied bank, it showed improvement in shorter lead time by contribution of key capabilities from the new system implementation including electronic credit bureau check, automated credit decision management. The result revealed 62.3% improvement from reduction of cycle time in pre-screening stage that contributed lead time to reduce from 11 days to 6 days which can imply that by enhancement of transforming the process to be digitalized, it can contribute the process to be more efficient, seamless, and respond to the rapid changing in banking business decently.
dc.description.abstractalternative เนื่องจากการปฏิรูปหรือเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิตอลและโมเดลธุรกิจแบบใหม่ (Digital Disruption)ได้กลายเป็นปัจจัยสำคัญที่กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจในปัจจุบันรวมถึงธุรกิจธนาคาร เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของลูกค้าอย่างรวดเร็วและสามารถแข่งขันได้ระหว่างคู่แข่ง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการธุรกิจของผลิตภัณฑ์สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยในธนาคารพาณิชย์แห่งหนึ่งในประเทศไทย ซึ่งดำเนินกระบวนการแบบดำเนินด้วยตนเองและกระบวนการกระดาษซึ่งถือว่าเป็นสาเหตุหลักของคอขวดในกระบวนการสินเชื่อ และมีวัตถุประสงค์เพื่อลดระยะเวลาดำเนินการในกระบวนการ โดยเจาะลึกถึงรายละเอียดของกระบวนการเพื่อแสดงให้เห็นความสูญเสียหรือกิจกรรมที่ไม่เพิ่มมูลค่าด้วยการนำเอาแนวคิดและเครื่องมือแบบลีน (Lean) ที่เหมาะสมและหาแนวทางที่เป็นไปได้ในการประเมินเพื่อปรับปรุง เครื่องมือแบบลีนที่เรียกว่าการวิเคราะห์แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า (Value Stream Mapping) ถูกใช้เป็นเครื่องมือหลักในแนวทางปฎิบัติของงานวิจัยนี้ โดยหลังจากที่มีการนำแผนภูมิดังกล่าวมาปรับใช้ในการวิเคราะห์สถานะปัจจุบันของกระบวนการ พบว่าของเสียส่วนใหญ่เกิดจากการรอคอยที่ยาวนานและเวลาในการสืบค้นที่ยาวนานซึ่งเกิดจากงานที่ไม่เป็นระเบียบและกระบวนการแบบเดิมที่ไม่มีความต่อเนื่อง ดังนั้นจึงมีการพิจารณาวิธีแก้ปัญหาจากแนวคิดแบบลีนด้วยการลดความซับซ้อนและเพิ่มความคล่องตัวของกระบวนการ การทำให้กระบวนการเป็นมาตรฐาน อีกทั้งการนำแนวคิดของการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลในอุตสาหกรรมการธนาคารในรูปแบบของการเสนอระบบใหม่ที่เป็นระบบอัตโนมัติ หลังจากที่มีการนำเสนอระบบใหม่ในกระบวนการสินเชื่อที่อยู่อาศัย พบว่าระยะเวลารอคอยสินค้าสั้นลงด้วยความสามารถหลักจากระบบใหม่ที่มีการตรวจสอบเครดิตบูโรอิเล็กทรอนิกส์  และการจัดการกับการตัดสินใจของสินเชื่อแบบอัตโนมัติที่สามารถปรับปรุงและลดรอบเวลาได้ดีกว่าเดิม 62.3% ในขั้นตอนคัดกรองของกระบวนการซึ่งส่งให้ระยะเวลารอคอยสินค้าสั้นลงจากเดิม 11 วันเหลือ 6 วัน  จึงบ่งบอกได้ว่าการปรับปรุงกระบวนการให้เป็นดิจิทัลสามารถส่งผลให้กระบวนการมีประสิทธิภาพ ราบรื่น และตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของธุรกิจธนาคารได้อย่างเหมาะสม
dc.language.iso en
dc.publisher Chulalongkorn University
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.195
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.195
dc.rights Chulalongkorn University
dc.subject Bank loans
dc.subject Credit
dc.subject Lean manufacturing
dc.subject การกู้ยืมธนาคาร
dc.subject สินเชื่อ
dc.subject การผลิตแบบลีน
dc.subject.classification Engineering
dc.title Process improvement of housing loan product in Thailand commercial bank
dc.title.alternative การปรับปรุงกระบวนการสำหรับผลิตภัณฑ์สินเชื่อบ้านของธนาคารพาณิชย์ในประเทศไทย
dc.type Thesis
dc.degree.name Master of Engineering
dc.degree.level Master's Degree
dc.degree.discipline Engineering Management
dc.degree.grantor Chulalongkorn University
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2019.195
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2019.195


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record