DSpace Repository

สถาปัตยกรรมประสิทธิภาพสูงเพื่อตรวจจับและบรรยายจุดเด่นของภาพบนพื้นฐานของขั้นตอนวิธีโออาร์บี

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุรีย์ พุ่มรินทร์
dc.contributor.author ทักษพร อิ่มแสงสุข
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-09-22T23:38:59Z
dc.date.available 2021-09-22T23:38:59Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77247
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2563
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้นำเสนอสถาปัตยกรรมประสิทธิภาพสูงเพื่อตรวจจับและบรรยายจุดเด่นบนพื้นฐานของขั้นตอนวิธีโออาร์บี สถาปัตยกรรมถูกบรรยายด้วยภาษาวีเอชดีแอลและถูกออกแบบให้สามารถประมวลผลบนเอฟพีจีเอได้ ขั้นตอนวิธีการที่ นำไปใช้ออกแบบสถาปัตยกรรมนั้นถูกพัฒนาขึ้นด้วยภาษาไพทอนเพื่อลดความซับซ้อนและปรับปรุงขั้นตอนวิธีให้เหมาะสมกับการทำงานของฮาร์ดแวร์ โดยประยุกต์ใช้การประมวลผลแบบขนาน, การจัดระบบงานแบบสายท่อ (parallel and pipeline techniques) และเปลี่ยนวิธีในการประมวลผลบางขั้นตอนให้สามารถคำนวณได้โดยไม่ต้องอาศัยวงจรคำนวณเชิงคณิตศาสตร์เพิ่มเติมในการเร่งการทำงานของระบบ จากผลการทดสอบสถาปัตยกรรมด้วยโปรแกรม ModelSim พบว่าสถาปัตยกรรมสามารถรองรับสัญญาณภาพขนาด 1920x1080 จุดภาพอัตรา 30 เฟรมต่อวินาทีได้ โดยยังคงค่าความต้องกันของจุดมุมและความแม่นยำเมื่อเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากฟังก์ชัน cv.ORB() ใน OpenCV library
dc.description.abstractalternative This thesis proposes a high-efficient architecture for feature detection and description based on the ORB algorithm. The proposed architecture is described in VHDL and designed for Field Programmable Gate Arrays. The algorithm is developed by Python to reduce the operation of the process and be beneficial for designing FPGA architecture. The proposed algorithm adopts parallel and pipeline techniques and changes some steps to not including complex mathematical circuits for accelerating the system. The ModelSim simulation results show that the proposed architecture can process the 1920x1080 pixels and support 30 frames per second video source. The architecture could maintain the consistency of the corner numbers and the accuracy compared with the results obtained by cv.ORB() function in OpenCV library.
dc.language.iso th
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.relation.uri http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2020.1129
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.subject.classification Engineering
dc.title สถาปัตยกรรมประสิทธิภาพสูงเพื่อตรวจจับและบรรยายจุดเด่นของภาพบนพื้นฐานของขั้นตอนวิธีโออาร์บี
dc.title.alternative High-efficient architecture for image feature detection and description based on orb algorithm
dc.type Thesis
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิศวกรรมไฟฟ้า
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
dc.identifier.DOI 10.58837/CHULA.THE.2020.1129


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record