dc.contributor.advisor |
Sujitra Wongkasemjit |
|
dc.contributor.advisor |
Apanee Luengnaruemitchai |
|
dc.contributor.advisor |
Thanyalak Chaisuwan |
|
dc.contributor.author |
Alisa Koovimol |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-23T06:30:19Z |
|
dc.date.available |
2021-09-23T06:30:19Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77299 |
|
dc.description |
Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015 |
en_US |
dc.description.abstract |
Carbon monoxide oxidation (CO oxidation) was used to reduce the amount of CO that is poison to the proton exchange membrane (PEM) fuel cells by using zeolite-A loading gold and platinum, as catalyst. The catalysts were successfully synthesized by using fumed silica, aluminium hydroxide, and various types of alkaline species, namely lithium (Li), sodium (Na), and potassium (K) hydroxides, via sol-gel process and microwave heating technique. After loading with different types of metal via impregnation method, Na-A zeolite loading platinum showed higher CO conversion than gold loaded Na-A zeolite. The highest conversions of platinum and gold loadings were 100 and 26%, respectively. In addition. all of the alkaline-A zeolites showed slightly different conversion for CO oxidation and reached 100% at 240 ℃. Moreover, the conversion for the CO oxidation. It reached the highest conversion of 89% at 240 ℃ and dropped at higher temperature. |
|
dc.description.abstractalternative |
ปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาร์บอนมอกไซด์ถูกใช้ในการลดปริมาณคาร์บอนมอนอกไซด์ ซึ่งเป็นสารพิษในแผ่นเซลล์เชื้อเพลิงชนิดเยื่อแลกเปลี่ยนโปรตอนโดยใช้ซีโอไลด์ที่เติมทอง และแพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ซึ่งสังเคราะห์จากฟูมซิลิกา อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ และอัลคาไลน์หลากหลายชนิด ได้แก่ ลิเทียมไฮดรอก ไซด์ โซเดียมไฮดรอกไซด์และโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ โดยผ่านกระบวนการโซล-เจล และวิธีการให้ความร้อน ด้วยไมโครเวฟ หลังจากเติมทองและแพลทินัมด้วยวิธี impregnation โซเดียมเอซีโอไลต์ที่เติมแพลทินัมสามารถเปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์ได้มากกว่าโซเดียมเอซีโอไลต์ที่เติมทอง โดยเปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์ ได้สูงสุดถึง 100% ขณะที่โซเดียมเอซีโอไลต์ที่เติมทองสามารถเปลี่ยนได้แค่ 26% ชนิดอัลคาไลน์ที่ศึกษามี ความสามารถในการเปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์ได้ไม่แตกต่างกันมากนัก ซึ่งเปลี่ยนได้ถึง 100% ที่อุณหภูมิ 240 องศาเซลเซียส นอกจากนี้ ปฏิกิริยา PROX เปลี่ยนคาร์บอนมอนอกไซด์น้อยกว่าปฏิกิริยาออกซิเดชันของคาร์บอนมอนอกไซด์ โดยสามรถกำจัดคาร์บอนมอนนอกไซด์ได้สูงสุดที่ 89% ที่อุณหภูมิ 240 องศาเซลเซียส และค่านี้ลดลงที่อุณหภูมิสูงขึ้น |
|
dc.language.iso |
en |
en_US |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1475 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.subject |
Zeolite catalysts |
|
dc.subject |
Carbon monoxide |
|
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยาซีโอไลต์ |
|
dc.subject |
คาร์บอนมอนอกไซต์ |
|
dc.title |
Activity study of metal loaded zeolites |
en_US |
dc.title.alternative |
การศึกษาความว่องไวของตัวเร่งปฏิกิริยาของซีโอไลต์ที่เติมโลหะ |
en_US |
dc.type |
Thesis |
en_US |
dc.degree.name |
Master of Science |
en_US |
dc.degree.level |
Master's Degree |
en_US |
dc.degree.discipline |
Polymer Science |
en_US |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en_US |
dc.email.advisor |
Dsujitra@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Apanee.L@Chula.ac.th |
|
dc.email.advisor |
Thanyalak.C@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2015.1475 |
|