DSpace Repository

Carbon footprint of organization: case studies of the petroleum and petrochemical college and office of the president, Chulalongkorn University

Show simple item record

dc.contributor.advisor Pomthong Malakul
dc.contributor.advisor Ampira Charoensaeng
dc.contributor.author Jukkapun Kaewprom
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-27T06:57:07Z
dc.date.available 2021-09-27T06:57:07Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77316
dc.description Thesis (M.S.)--Chulalongkorn University, 2015 en_US
dc.description.abstract Carbon footprint is the cumulative amount of direct and indirect greenhouse gases (GHG) emissions associated with products, organizations or human activities. It is expressed in equivalent mass of carbon dioxide (CO₂ₑ). Although, there are many of commercial products evaluated for carbon footprints, very few organizations in Thailand report their carbon footprints. Thus. This work aims to access the GHG emissions and investigate the options of the academic organization’s carbon footprint using the case studies of the Petroleum and Petrochemical College (PPC) and Office of the President, Chulalongkorn University. All GHG emissions from various activities occurred in the organization will be gathered and evaluated in the units of carbon dioxide equivalent (CO₂ₑ), based on ISO 14064, 14069 and Thailand Greenhouse Gases Organization (YGO) guidelines. The results showed that the major source of GHG emissions in carbon footprint of both departments was the use of energy (electricity), followed by mode of daily commuting of staff and students. Consequently. The electricity consumption and mode of transportation (daily commuting) were prioritized as measures to reduce carbon footprint of organizations in the University. In addition, the current energy-saving technologies and proper campaigns are an option to decrease the power consumption, including 3R strategies (reduce, reuse and recycle), and public transportation campaign. The results obtained from this work would provide guidelines for policy maker and management to support University to create a sustainable campus.
dc.description.abstractalternative รอยเท้าคาร์บอน คือ ปริมาณการปลดปล่อยคาร์บอนทั้งในทางตรงและทางอ้อมซึ่งเกิดควบคู่กับผลิต ภัณฑ์ องค์กร และกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันของมนุษย์ โดยรอยคาร์บอนจะรายงานในหน่วยของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO,ₑ) ในประเทศไทยนั้น ถึงแม้ว่าจะมีการรายงานผลการประเมินรอยเท้าคาร์บอนในหลายผลิตภัณฑ์ แต่ในด้านขององค์กรยังถือว่ามีน้อยมาก ดังนั้น งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาถึงการ ประเมินปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจำและรอยเท้าคาร์บอนสำหรับหน่วยงานด้านการศึกษาโดยใช้ กรณีศึกษาคือ วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี และสำนักงานตึกอธิการบดี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมดที่เกิดจากกิจกรรมต่าง ๆ ในองค์กรจะถูกเก็บรวบรวมและ ประเมินในหน่วยของคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า CO₂ₑ ตามหลักของ ISO 14064 ISO 14069 และ องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า การปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดในรอยเท้าคาร์บอนของทั้งสองหน่วยงานมาจากการใช้พลังงานและนิสิต ด้วยเหตุนี้ จึงทำให้การใช้ ไฟฟ้าในองค์กรและการใช้เชื้อเพลิงจากการเดินทางถูกพิจารณาเป็นอันดับต้น ๆ ที่จะต้องได้รับการวางมาตร การลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกในมหาวิทยาลัย ซึ่งนอกจากจะใช้เทคโนโลยีในการลดและประหยัดการใช้พลังงานแล้ว ควรมีการรณรงค์ในด้านต่าง ๆ เพื่อลดการใช้พลังงาน การทำ 3R (การลด การใช้ซ้ำ และการรีไซเคิล) และการรณรงค์ให้ใช้ระบบขนส่งสาธารณะให้มากยิ่งขึ้น ผลจากการวิจัยนี้สามารถช่วยในการวางนโยบายและแนวทางการบริหารจัดการให้มหาวิทยาลัยก้าวไปสู่มหาวิทยาลัยเพื่อความ ยั่งยืนต่อไป
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2015.1502
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Greenhouse gas mitigation
dc.subject Carbon footprint
dc.subject ก๊าซเรือนกระจก -- การลดปริมาณ
dc.subject คาร์บอนฟุตพริ้นท์
dc.title Carbon footprint of organization: case studies of the petroleum and petrochemical college and office of the president, Chulalongkorn University en_US
dc.title.alternative การประเมินรอยเท้าคาร์บอนสำหรับองค์กร กรณีศึกษา วิทยาลัยปิโตรเลียมและปีโตรเคมี และ สำนักงานตึกอธิการบดี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petroleum Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Pomthong.M@Chula.ac.th
dc.email.advisor Ampira.C@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2015.1502


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record