DSpace Repository

Surface activity of Rh/KL catalyst in waste tire pyrolysis

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sirirat Jitkarnka
dc.contributor.author Sakollapath Pithakratanayothin
dc.contributor.other Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
dc.date.accessioned 2021-09-29T04:27:04Z
dc.date.available 2021-09-29T04:27:04Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/77345
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2014 en_US
dc.description.abstract This research work elucidated the surface activity of KL and Rh/KL through the changes of hydrocarbon compounds in tire-derived oil (TDO). Maltenes, TDOs after separation of asphaltene, were analyzed by using a comprehensive 2D gas chromatography with time-of-flight mass spectrometry (GC × GC- TOF/MS). The hydrocarbon compounds in TDOs were categorized into seven groups; that are, saturated hydrocarbons (SATs), olefins (OLEs), terpenes (TERs), mono-aromatics (MAHs), di-aromatics (DAHs), poly-aromatics (PAHs), and polar-aromatics (PPAHs). Moreover, mono-aromatics were classified into those with saturated and unsaturated substituents. The changes in molecular structures of hydrocarbon compounds with the uses of catalysts were confirmed by using two-dimension Heteronuclear Single-Quantum Correlation-Nuclear Magnetic Resonance (2D- HSQC-NMR). As a result, the KL catalyst can provide hydrogenation of C11 - and C12-alkylbenzenes; moreover, the KL can enhance the cracking of Cl3- and Cl4- indenes, whereas the Rh/KL catalyst can provide dehydrogenation of Cl2- teralins (mostly, 2-ethyltetralin) to C12-DAHs (mostly, 2-ethlynaphthalene), and C11-alkylbenzenes (mostly, cyclopentylbenzene) to Cl1-alkenylbenzenes (mostly, cyclopentenylbenzene). Furthermore, the Rh/KL can crack C12-alkylbenzenes via multiplet mechanism.
dc.description.abstractalternative งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกิริยาของซีโอไลท์ ชนิดเคเอลและโลหะโรเดียมบนตัวรองรับซีโอไลท์ชนิดเคเอล โดยศึกษาจากการเปลี่ยนแปลงของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่พบในน้ำมันที่ได้จากกระบวนไพโรไลซิสยางรถยนต์หมดสภาพ ในการวัดการเปลี่ยนแปลงของสารประกอบไฮโดรคาร์บอน ในน้ำมันจะต้องผ่านกระบวนการแยก แอสฟัลทีนออกแล้วจะได้น้ำมันที่เรียกว่ามัลทีนซึ่งถูกนำไปวิเคราะห์ด้วยเครื่อง แก๊สโครมาโทร- กราฟีสองมิติ (GC × GC- TOF/MS) สารประกอบไฮไดรคาร์บอนถูกจัด เป็น 7 กลุ่ม ดังต่อไปนี้ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัว (SATs) โอเลฟินส์ (OLEs) เทอร์ปีนส์ (TERs) โมโนอะโรมาติกส์ (MAHs) ไดอะโรมาติกส์ (DAHs) โพลีอะโรมาติกส์ (PAHs) และ โพลีอะโรมาติกส์ที่มีขั้ว (PPAHs) ไฮโดรคาร์บอนในกลุ่มของโมโนอะโรมาติกส์นั้นถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามหมู่แทน ซึ่งประกอบไปด้วย หมู่แทนที่อิ่มตัว และหมู่แทนที่ไม่อิ่มตัว โครงสร้างของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เปลี่ยนแปลงไปเมื่อใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดต่าง ๆ นั้นถูกยืนยัน โดยใช้เครื่องมือนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนสเปกโตรสโกปี (NMR) ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์สองมิติ เอสเฮสคิวซี (2D-HSQC) จากผลการทดลองพบว่า ซีโอไลท์ชนิดเคแอล สามารถทำให้เกิดปฏิกิริยาไฮโดร จีเนชั่น ของ แอลคิลเบนซีน 11 อะตอม และ 12 อะตอมและไดอะโรมาติกส์ 12 อะตอม นอกจากนี้ ซีโอไลท์ชนิดเคแอลสามารถเพิ่มการแตกสลายพันธะของสารประกอบอินดีน 13 อะตอม และ 14 อะตอม เมื่อโลหะโรเดียมถูกบรรจุบนซีโอไลท์ชนิดเคเอล ผลปรากฏว่า เตระตะริน 12 อะตอม (ส่วนมากคือ 2-ethyltetralin) จะถูกดีไฮโดรจีเนตเป็น ไดอะโรมาติกส์ 12 อะตอม (2- ethylnapthalene เป็นส่วนใหญ่) และแอลคิลเบนซีน 11 อะตอม จะถูกดีไฮโดรจีเนตเป็นแอลคีนิลเบนซีน 11 อะตอม นอกจากนี้สามารถเสริมแรงในการสลายพันธะของแอลคิลเบนซีน 12 อะตอม (ซึ่งส่วนใหญ่คือ ไซโคลเฮกซิลเบนซีน) จะถูก เปิดวงโดยกลไลมัลติเฟลตเป็น เฮกซิลเบนซีน และ เพิ่มปริมาณแอลคีนิลเบนซีน 11 อะตอม
dc.language.iso en en_US
dc.publisher Chulalongkorn University en_US
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1562
dc.rights Chulalongkorn University en_US
dc.subject Catalysts
dc.subject Pyrolysis
dc.subject ตัวเร่งปฏิกิริยา
dc.subject การแยกสลายด้วยความร้อน
dc.title Surface activity of Rh/KL catalyst in waste tire pyrolysis en_US
dc.title.alternative ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวตัวเร่งปฏิกริริยาโรเดียมที่บรรจุบนซีโอไลท์ชนิดเคเอลในกระบวนไพโรไลซิสยางรถยนต์หมดสภาพ en_US
dc.type Thesis en_US
dc.degree.name Master of Science en_US
dc.degree.level Master's Degree en_US
dc.degree.discipline Petrochemical Technology en_US
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en_US
dc.email.advisor Sirirat.J@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2014.1562


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record